สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์สุกรในสัปดาห์นี้ค่อนข้างแจ่มใส เนื่องจากเข้าสู่ช่วงเทศกาลตรุษจีน ทำให้ความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวอยู่ที่ระดับสูง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 46.92 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 46.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 48.39 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 45.13 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 46.69 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 45.19 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,300 บาท (บวกลบ 47 บาท) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.11 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา ขณะที่ความต้องการบริโภคไม่ได้เพิ่มขึ้น แม้ว่าจะเข้าสู่เทศกาลตรุษจีนเนื่องจาก ข่าวระบาดของโรคไข้หวัดนก ส่งผลให้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ทรงตัว แนวโน้มคาดว่าราคาทรงตัวหรือปรับสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 30.45 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 36.63 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 21.93 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 32.32 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 37.49 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ9.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 30.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5 กับสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่ง ไก่สดกิโลกรัมละ 40.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.71
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาที่เกษตรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นในบางพื้นที่ โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคกลาง ราคาได้ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากปริมาณผลผลิตมีน้อย และช่วงนี้ช่วงสู่เทศกาลตรุษจีนทำให้ความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น แนวโน้มคาดว่าจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 250 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 249 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 245 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 244 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 250 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 257 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 15 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 260 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 267 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 271 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.48 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 262 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 273 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 260 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 288 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 335 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 43.04 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 53.46 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 48.13 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 35.85 บาท
ลดลงจากกิโลกรัมละ 35.55 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.97 บาท ส่วนภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 5 ประจำวันที่ 31 ม.ค.-6 ก.พ.2548--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์สุกรในสัปดาห์นี้ค่อนข้างแจ่มใส เนื่องจากเข้าสู่ช่วงเทศกาลตรุษจีน ทำให้ความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวอยู่ที่ระดับสูง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 46.92 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 46.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 48.39 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 45.13 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 46.69 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 45.19 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,300 บาท (บวกลบ 47 บาท) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.11 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา ขณะที่ความต้องการบริโภคไม่ได้เพิ่มขึ้น แม้ว่าจะเข้าสู่เทศกาลตรุษจีนเนื่องจาก ข่าวระบาดของโรคไข้หวัดนก ส่งผลให้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ทรงตัว แนวโน้มคาดว่าราคาทรงตัวหรือปรับสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 30.45 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 36.63 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 21.93 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 32.32 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 37.49 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ9.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 30.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5 กับสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่ง ไก่สดกิโลกรัมละ 40.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.71
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาที่เกษตรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นในบางพื้นที่ โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคกลาง ราคาได้ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากปริมาณผลผลิตมีน้อย และช่วงนี้ช่วงสู่เทศกาลตรุษจีนทำให้ความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น แนวโน้มคาดว่าจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 250 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 249 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 245 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 244 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 250 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 257 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 15 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 260 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 267 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 271 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.48 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 262 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 273 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 260 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 288 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 335 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 43.04 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 53.46 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 48.13 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 35.85 บาท
ลดลงจากกิโลกรัมละ 35.55 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.97 บาท ส่วนภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 5 ประจำวันที่ 31 ม.ค.-6 ก.พ.2548--
-พห-