สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ความต้องการ บริโภคชะลอตัวเนื่องจากผู้บริโภคหันไปบริโภคสินค้าอื่นที่มีราคา ถูกกว่า แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรง
ตัว
การเกิดโรคระบาดในสุกรจากเชื้อแบคทีเรียชนิดสเตรปโตค็อกคัส ซูอิส ไทป์ทู หรือโรค ไข้หวัดหมูใน
มณฑลเสฉวน ประเทศจีนซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิต ไปแล้ว 38 คน และมีผู้ติดเชื้อ 206 รายนั้นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเชื้อ
แบคทีเรีย สเตรปโตค็อกคัส ซูอิส ไทป์ทู กังวลว่าอาจมีเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสตัวอื่นร่วมด้วยเพราะการแพร่ระบาด
รวดเร็วและ อาการของผู้ป่วยต่างจากเคสก่อนหน้า และแนะนำให้จีนส่งตัวอย่างให้ผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ก่อนสถานการณ์
จะลุกลาม มากว่านี้ ส่วนการติดเชื้อสเตรปโตค็อกคัส ซูอิส ไทป์ทู ในประเทศไทยเป็นเรื่องที่พบเป็นปกติในสกุ
รไทยอยู่แล้ว ถ้าสถานที่เลี้ยงสุกรสกปรก ไม่ได้มาตรฐานเชื้อจะมีอยู่ในสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ แต่การเกิดโรคใน
ประเทศไทย สามารถควบคุมได้ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะและไม่ได้เกิดการะบาดอย่างไรก็ตาม ขณะนี้ทางกรมปศุสัตว์
ได้มีหนังสือส่ง ไปยังปศุสัตว์จังหวัดทั่วประเทศให้มีการเฝ้าระวังตรวจสอบสุ่มเก็บตัวอย่างโดยเฉพาะหากมีลูกสุกร
ตาย นอกจากนี้ ได้มีการประชาสัมพันธ์ไปยังผู้เลี้ยงสุกรให้มีการป้องกันด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ
51.23 บาท ลดลงจ กกิโลกรัมละ 51. 37 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.27 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาค
เหนือกิโลกรัมละ 5 0.52 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัม ละ 49.23 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ
51.33 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 56.22 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี . พี ในสัปดาห์นี้ตัว
ละ 1,300 บาท ( บวกลบ 51 บาท ) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5 0.50 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 59 . 5 0 บาท ราคาทรงตัว
เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ยังทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ความต้องการบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อ
เนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
จีนได้รายงานให้องค์การะบาดสัตว์ระหว่างประเทศ ( OIF ) ทราบว่าพบเชื้อไข้หวัดนก ใกล้กับ
เมืองลาซา เมืองหลวงของทิเบต ในสัตว์ปีก 133 ตัว ซึ่งล้มตายในฟาร์มแห่งหนึ่งและได้ทำลายสัตว์ปีกในบริเวณ
โดยรอบดังกล่าวอีก 2,600 ตัว เพื่อป้องกันการะบาดของโรคซึ่งคาดว่า จะเป็นชนิด H 5 N 1 ที่แพร่ระบาดในเอ
เซียซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตแล้วกว่า 50 ราย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 37.59 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัม ละ
37.44 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 โ ดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 41.65 บาท ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 38.00 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 3 3.98 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 3
6.60 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 13 .50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่าน
มา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 สูงขึ้นจาก
กิโลกรัม ละ 30.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 11.48 บาท ส่วนราคาขายส่งไก่ สดกิโลกรัมละ 4 4.50
บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัม ละ 43.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.49
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้ยังคงปรับตัวสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องตามความ
ต้องการบริโภค ที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณลดลงเมื่อเทียบกับภาวะปกติ แนวโน้มคาดว่าราคา
จะปรับตัวสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 268 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ
266 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.75 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 2 78 บาท ภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 2 81 บ ท ภาคกลางร้อยฟองละ 2 63 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 2 71 บาท
ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี . พี . ตัวละ 1 9 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 2 90 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 300 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 299
บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.34 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 2 75 บาท ภาคตะวันออก
เฉียง เหนือ ร้อยฟองละ 314 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 300 บาท และภาคใต้ร้อย ฟองละ 2 91 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จาก กรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 3 86 บาท สูงขึ้นจากร้อย
ฟองละ 376 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.66
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.98 บาท สูงขึ้นจาก
กิโลกรัมละ 46.98 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.13 โดย แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 44.35 บาท
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.53 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 4 3.58 บาท ส่วนภาคกลางกิโลกรัม
ละ 39.63 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 3 6.47 บาท สูงขึ้น
จากกิโลกรัมละ 36.35 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.33 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 3
7 .00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.37 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.50 บาท และภาคใต้ไม่
มีรายงานราคา
ก.ค. สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 5
สุกร 50.5 50.5 50.5
ไก่เนื้อ 30.5 30.5 30.5
ไข่ไก่ 266 266 266
ไข่เป็ด 381 376 386
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 8-14 สิงหาคม 2548--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ความต้องการ บริโภคชะลอตัวเนื่องจากผู้บริโภคหันไปบริโภคสินค้าอื่นที่มีราคา ถูกกว่า แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรง
ตัว
การเกิดโรคระบาดในสุกรจากเชื้อแบคทีเรียชนิดสเตรปโตค็อกคัส ซูอิส ไทป์ทู หรือโรค ไข้หวัดหมูใน
มณฑลเสฉวน ประเทศจีนซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิต ไปแล้ว 38 คน และมีผู้ติดเชื้อ 206 รายนั้นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเชื้อ
แบคทีเรีย สเตรปโตค็อกคัส ซูอิส ไทป์ทู กังวลว่าอาจมีเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสตัวอื่นร่วมด้วยเพราะการแพร่ระบาด
รวดเร็วและ อาการของผู้ป่วยต่างจากเคสก่อนหน้า และแนะนำให้จีนส่งตัวอย่างให้ผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ก่อนสถานการณ์
จะลุกลาม มากว่านี้ ส่วนการติดเชื้อสเตรปโตค็อกคัส ซูอิส ไทป์ทู ในประเทศไทยเป็นเรื่องที่พบเป็นปกติในสกุ
รไทยอยู่แล้ว ถ้าสถานที่เลี้ยงสุกรสกปรก ไม่ได้มาตรฐานเชื้อจะมีอยู่ในสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ แต่การเกิดโรคใน
ประเทศไทย สามารถควบคุมได้ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะและไม่ได้เกิดการะบาดอย่างไรก็ตาม ขณะนี้ทางกรมปศุสัตว์
ได้มีหนังสือส่ง ไปยังปศุสัตว์จังหวัดทั่วประเทศให้มีการเฝ้าระวังตรวจสอบสุ่มเก็บตัวอย่างโดยเฉพาะหากมีลูกสุกร
ตาย นอกจากนี้ ได้มีการประชาสัมพันธ์ไปยังผู้เลี้ยงสุกรให้มีการป้องกันด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ
51.23 บาท ลดลงจ กกิโลกรัมละ 51. 37 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.27 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาค
เหนือกิโลกรัมละ 5 0.52 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัม ละ 49.23 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ
51.33 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 56.22 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี . พี ในสัปดาห์นี้ตัว
ละ 1,300 บาท ( บวกลบ 51 บาท ) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5 0.50 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 59 . 5 0 บาท ราคาทรงตัว
เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ยังทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ความต้องการบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อ
เนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
จีนได้รายงานให้องค์การะบาดสัตว์ระหว่างประเทศ ( OIF ) ทราบว่าพบเชื้อไข้หวัดนก ใกล้กับ
เมืองลาซา เมืองหลวงของทิเบต ในสัตว์ปีก 133 ตัว ซึ่งล้มตายในฟาร์มแห่งหนึ่งและได้ทำลายสัตว์ปีกในบริเวณ
โดยรอบดังกล่าวอีก 2,600 ตัว เพื่อป้องกันการะบาดของโรคซึ่งคาดว่า จะเป็นชนิด H 5 N 1 ที่แพร่ระบาดในเอ
เซียซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตแล้วกว่า 50 ราย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 37.59 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัม ละ
37.44 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 โ ดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 41.65 บาท ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 38.00 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 3 3.98 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 3
6.60 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 13 .50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่าน
มา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 สูงขึ้นจาก
กิโลกรัม ละ 30.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 11.48 บาท ส่วนราคาขายส่งไก่ สดกิโลกรัมละ 4 4.50
บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัม ละ 43.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.49
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้ยังคงปรับตัวสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องตามความ
ต้องการบริโภค ที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณลดลงเมื่อเทียบกับภาวะปกติ แนวโน้มคาดว่าราคา
จะปรับตัวสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 268 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ
266 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.75 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 2 78 บาท ภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 2 81 บ ท ภาคกลางร้อยฟองละ 2 63 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 2 71 บาท
ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี . พี . ตัวละ 1 9 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 2 90 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 300 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 299
บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.34 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 2 75 บาท ภาคตะวันออก
เฉียง เหนือ ร้อยฟองละ 314 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 300 บาท และภาคใต้ร้อย ฟองละ 2 91 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จาก กรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 3 86 บาท สูงขึ้นจากร้อย
ฟองละ 376 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.66
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.98 บาท สูงขึ้นจาก
กิโลกรัมละ 46.98 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.13 โดย แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 44.35 บาท
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.53 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 4 3.58 บาท ส่วนภาคกลางกิโลกรัม
ละ 39.63 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 3 6.47 บาท สูงขึ้น
จากกิโลกรัมละ 36.35 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.33 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 3
7 .00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.37 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.50 บาท และภาคใต้ไม่
มีรายงานราคา
ก.ค. สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 5
สุกร 50.5 50.5 50.5
ไก่เนื้อ 30.5 30.5 30.5
ไข่ไก่ 266 266 266
ไข่เป็ด 381 376 386
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 8-14 สิงหาคม 2548--
-พห-