1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.34 บาท ลดลงจาก กก.ละ 9.43 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.95
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.18 บาท ทรงตัว
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.45 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
จีนรับซื้อถั่วเหลืองจากอินเดียเนื่องจากสต็อกลดลง
จีนซึ่งเป็นผู้นำเข้าถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลก สั่งจองกากถั่วเหลืองจากอินเดียขณะที่ราคากำลังปรับลดลง และช่วงเดือนตุลาคมจะมีผลผลิตคงเหลืออยู่ในตลาดค่อนข้างน้อย การสั่งซื้อแต่ละครั้งจีนมักจะซื้อสินค้าอย่างน้อย 4 ชนิด โดยมีปริมาณชนิดละ 10,000 — 12,000 ตัน ราคา CIF อยู่ระหว่างตันละ 232 — 250 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้เกี่ยวข้องตั้งข้อสังเกตว่า โรงงานสกัดน้ำมันในจีนมักคัดค้านรัฐบาลในการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองปริมาณมากๆ เนื่องจากจะไปกดราคากากถั่วเหลืองภายในประเทศให้ต่ำลง และยังเป็นการสร้างกำไรเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ราคากากถั่วเหลืองอินเดียกลับมีทิศทางตกลงอย่างมาก ทั้งนี้จีนไม่ค่อยสนใจต่อผลผลิตถั่วเหลืองของตน หันไปนำเข้าจากอินเดียมากขึ้น พ่อค้าในเมืองเซี่ยงไฮ้ให้สัมภาษณ์ว่า โดยปกติราคากากถั่วเหลืองของจีนจะสูงกว่าอินเดียค่อนข้างมาก และเขาคาดว่าราคากากถั่วเหลืองในช่วงต้นเดือนตุลาคมนี้จะเริ่มมีเสถียรภาพ จากนั้นจะปรับตัวเพิ่มขึ้นอีก
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 568.67 เซนต์ (8.60 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 562.00 เซนต์ (8.53 บาท/กก.)ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 164.60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.78 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 169.20 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.99 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.72
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 24.04 เซนต์ (21.81 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนละ 22.39 เซนต์ (20.38 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 7.37
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
ข่าววิทยุ 3-9 ต.ค. 2548
ถั่วเหลือง
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.34 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.09 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.18 บาท ทรงตัว
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.45 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
จีนรับซื้อถั่วเหลืองจากอินเดียเนื่องจากสต็อกลดลง
จีนซึ่งเป็นผู้นำเข้าถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลก สั่งจองกากถั่วเหลืองจากอินเดียขณะที่ราคากำลังปรับลดลง และช่วงเดือนตุลาคมจะมีผลผลิตคงเหลืออยู่ในตลาดค่อนข้างน้อย การสั่งซื้อแต่ละครั้งจีนมักจะซื้อสินค้าอย่างน้อย 4 ชนิด โดยมีปริมาณชนิดละ 10,000 — 12,000 ตัน ราคา CIF อยู่ระหว่างตันละ 232 — 250 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้เกี่ยวข้องตั้งข้อสังเกตว่า โรงงานสกัดน้ำมันในจีนมักคัดค้านรัฐบาลในการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองปริมาณมากๆ เนื่องจากจะไปกดราคากากถั่วเหลืองภายในประเทศให้ต่ำลง และยังเป็นการสร้างกำไรเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ราคากากถั่วเหลืองอินเดียกลับมีทิศทางตกลงอย่างมาก ทั้งนี้จีนไม่ค่อยสนใจต่อผลผลิตถั่วเหลืองของตน หันไปนำเข้าจากอินเดียมากขึ้น พ่อค้าในเมืองเซี่ยงไฮ้ให้สัมภาษณ์ว่า โดยปกติราคากากถั่วเหลืองของจีนจะสูงกว่าอินเดียค่อนข้างมาก และเขาคาดว่าราคากากถั่วเหลืองในช่วงต้นเดือนตุลาคมนี้จะเริ่มมีเสถียรภาพ จากนั้นจะปรับตัวเพิ่มขึ้นอีก
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 568.67 เซนต์ หรือ กก.ละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อนบุชเชลละ 6.67 เซนต์ หรือ กก.ละ 0.07 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 39 ประจำวันที่ 3-9 ต.ค.2548--
-พห-
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.34 บาท ลดลงจาก กก.ละ 9.43 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.95
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.18 บาท ทรงตัว
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.45 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
จีนรับซื้อถั่วเหลืองจากอินเดียเนื่องจากสต็อกลดลง
จีนซึ่งเป็นผู้นำเข้าถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลก สั่งจองกากถั่วเหลืองจากอินเดียขณะที่ราคากำลังปรับลดลง และช่วงเดือนตุลาคมจะมีผลผลิตคงเหลืออยู่ในตลาดค่อนข้างน้อย การสั่งซื้อแต่ละครั้งจีนมักจะซื้อสินค้าอย่างน้อย 4 ชนิด โดยมีปริมาณชนิดละ 10,000 — 12,000 ตัน ราคา CIF อยู่ระหว่างตันละ 232 — 250 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้เกี่ยวข้องตั้งข้อสังเกตว่า โรงงานสกัดน้ำมันในจีนมักคัดค้านรัฐบาลในการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองปริมาณมากๆ เนื่องจากจะไปกดราคากากถั่วเหลืองภายในประเทศให้ต่ำลง และยังเป็นการสร้างกำไรเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ราคากากถั่วเหลืองอินเดียกลับมีทิศทางตกลงอย่างมาก ทั้งนี้จีนไม่ค่อยสนใจต่อผลผลิตถั่วเหลืองของตน หันไปนำเข้าจากอินเดียมากขึ้น พ่อค้าในเมืองเซี่ยงไฮ้ให้สัมภาษณ์ว่า โดยปกติราคากากถั่วเหลืองของจีนจะสูงกว่าอินเดียค่อนข้างมาก และเขาคาดว่าราคากากถั่วเหลืองในช่วงต้นเดือนตุลาคมนี้จะเริ่มมีเสถียรภาพ จากนั้นจะปรับตัวเพิ่มขึ้นอีก
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 568.67 เซนต์ (8.60 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 562.00 เซนต์ (8.53 บาท/กก.)ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 164.60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.78 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 169.20 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.99 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.72
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 24.04 เซนต์ (21.81 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนละ 22.39 เซนต์ (20.38 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 7.37
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
ข่าววิทยุ 3-9 ต.ค. 2548
ถั่วเหลือง
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.34 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.09 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.18 บาท ทรงตัว
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.45 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
จีนรับซื้อถั่วเหลืองจากอินเดียเนื่องจากสต็อกลดลง
จีนซึ่งเป็นผู้นำเข้าถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลก สั่งจองกากถั่วเหลืองจากอินเดียขณะที่ราคากำลังปรับลดลง และช่วงเดือนตุลาคมจะมีผลผลิตคงเหลืออยู่ในตลาดค่อนข้างน้อย การสั่งซื้อแต่ละครั้งจีนมักจะซื้อสินค้าอย่างน้อย 4 ชนิด โดยมีปริมาณชนิดละ 10,000 — 12,000 ตัน ราคา CIF อยู่ระหว่างตันละ 232 — 250 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้เกี่ยวข้องตั้งข้อสังเกตว่า โรงงานสกัดน้ำมันในจีนมักคัดค้านรัฐบาลในการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองปริมาณมากๆ เนื่องจากจะไปกดราคากากถั่วเหลืองภายในประเทศให้ต่ำลง และยังเป็นการสร้างกำไรเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ราคากากถั่วเหลืองอินเดียกลับมีทิศทางตกลงอย่างมาก ทั้งนี้จีนไม่ค่อยสนใจต่อผลผลิตถั่วเหลืองของตน หันไปนำเข้าจากอินเดียมากขึ้น พ่อค้าในเมืองเซี่ยงไฮ้ให้สัมภาษณ์ว่า โดยปกติราคากากถั่วเหลืองของจีนจะสูงกว่าอินเดียค่อนข้างมาก และเขาคาดว่าราคากากถั่วเหลืองในช่วงต้นเดือนตุลาคมนี้จะเริ่มมีเสถียรภาพ จากนั้นจะปรับตัวเพิ่มขึ้นอีก
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 568.67 เซนต์ หรือ กก.ละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อนบุชเชลละ 6.67 เซนต์ หรือ กก.ละ 0.07 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 39 ประจำวันที่ 3-9 ต.ค.2548--
-พห-