ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 58.14 บาท/กิโลกรัม
สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
จากบทความของหนังสือพิมพ์คมชัดลึก รายงานว่าราคายางที่สูงขึ้นอย่างผิดปกตินั้นเป็นภาวะของราคาที่ไม่เป็นจริง หรือสภาวะผิดปกติ แต่ตอนที่ราคาเริ่มตกลงมานั้นก็เป็นกระบวนการปรับเข้าสู่ภาวะปกติ ดังนั้นการที่เราเตรียมหันมาปลูกปลูกยางโดยไม่ดูสภาพแวดล้อมจะเป็นอันตรายอย่างยิ่ง ดังนั้นก่อนมีนโยบายขยายพื้นที่การเพาะปลูก ต้องมีการคาดคะเนปริมาณความต้องการยางธรรมชาติของตลาดโลกไว้ก่อน ประเมินศักยภาพของประเทศอื่นในการขยายพื้นที่การเพาะปลูก และเพื่อเตรียมรับมือกับปัญหายางธรรมชาติล้นตลาดในอนาคตเราต้องมีการสร้างดีมานด์ หรือความต้องการยางธรรมชาติให้มากขึ้น โดยอาจต้องมุ่งไปที่การใช้ประโยชน์ในประเทศเพื่อลดการพึ่งพาตลาดต่างประเทศ ที่สำคัญต้องผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมที่ใช้ยางเป็นวัตถุดิบให้มากขึ้นในประเทศ ดังนั้นจำเป็นต้องมีการลงทุนการวิจัยเพื่อเพิ่มมูลค่ายางให้มากขึ้น และมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองและใช้ประโยชน์ภายในประเทศ โดยมองการส่งออกเป็นเรื่องรองลงไป
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.18 บาท ลดลงจาก 60.07 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.89 บาทหรือร้อยละ 13.13
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.68 บาท ลดลงจาก 59.57 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.89 บาท หรือร้อยละ 13.24
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.18 บาท ลดลงจาก 59.07 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.89 บาท หรือร้อยละ 13.36
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.11 บาท ลดลงจาก 58.07 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.96 บาท หรือร้อยละ 13.71
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.87 บาท ลดลงจาก 56.06 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.19 หรือร้อยละ 11.04
ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.40 บาท ลดลงจาก 59.83 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 10.43 บาท หรือร้อยละ 17.43
ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.47 บาท ลดลงจาก 34.93 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.46 บาท หรือร้อยละ 9.90
เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.70 บาท ลดลงจาก 31.42 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.72 บาท หรือร้อยละ 11.84
น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.69 บาท ลดลงจาก 49.97 บาท ของสัปดาห์ ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.28 บาท หรือร้อยละ 12.57 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2549
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.20 บาท ลดลงจาก 71.77 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.37
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.05 บาท ลดลงจาก 70.62 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.47
น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.24 บาท ลดลงจาก 47.92 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.68 บาท หรือร้อยละ 5.59
ณ ท่าเรือสงขลา
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.95 บาท ลดลงจาก 71.52 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.39
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.80 บาท ลดลงจาก 70.37 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.49
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.99 บาท ลดลงจาก 47.67 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 2.68 บาท หรือร้อยละ 5.62
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
เจ้าหน้าที่อาวุโสกระทรวงอุตสาหกรรมของมาเลเซีย กล่าวว่า ปี 2549 ผลผลิตยางธรรมชาติในประเทศผู้ผลิตรายใหญ่อย่างไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย มีผลผลิตเพิ่มขึ้นใกล้เคียงกันประมาณร้อยละ 4.8 เป็นผลจากสภาพอากาศและราคายางที่สูงขึ้น และนาย Quah Swee Kheng เลขาธิการสภาธุรกิจยางพาราอาเซียน กล่าวว่าผลผลิตยางของทั้ง 3 ประเทศรวมกันคิดเป็นร้อยละ 70 ของผลผลิตยางทั้งโลกโดยเพิ่มจากปีที่แล้ว 0.3 ล้านตัน ขณะนี้เกษตรกรเริ่มกรีดยางมากขึ้นเนื่องจากแรงจูงใจทางด้านราคาและอากาศที่เอื้ออำนวย ปี 2549 ราคายางพาราเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 300 นับตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา และความต้องการยางจากจีนก็ค่อยๆเพิ่มขึ้นด้วย ไทยมีผลผลิตประมาณ 3 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.937 ล้านตันจากปีที่แล้ว อินโดนีเซียมีผลผลิต 2.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.27 ล้านตัน ขณะที่มาเลเซียคาดว่าจะมีผลผลิต 1.2 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.126 ล้านตัน
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือน พฤศจิกายน 2549
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 281.13 เซนต์สิงคโปร์ (65.82 บาท) ลดลงจาก 293.63 เซนต์สิงคโปร์ (68.63 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 12.50 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 4.26
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 173.88 เซนต์สหรัฐ (64.85 บาท) ลดลงจาก 180.88 เซนต์สหรัฐ (67.29 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.00 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 3.87
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 144.06 เพนนี (53.73บาท) ลดลงจาก 149.50 เพนนี(55.62 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.44 เพนนี หรือร้อยละ3.64
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.20 เยน (63.67 บาท) ลดลงจาก 205.10 เยน(64.59 บาท)ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.90 เยน หรือร้อยละ 2.39
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 38 ประจำวันที่ 25 กย.- 1 ตค.2549--
-พห-
สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
จากบทความของหนังสือพิมพ์คมชัดลึก รายงานว่าราคายางที่สูงขึ้นอย่างผิดปกตินั้นเป็นภาวะของราคาที่ไม่เป็นจริง หรือสภาวะผิดปกติ แต่ตอนที่ราคาเริ่มตกลงมานั้นก็เป็นกระบวนการปรับเข้าสู่ภาวะปกติ ดังนั้นการที่เราเตรียมหันมาปลูกปลูกยางโดยไม่ดูสภาพแวดล้อมจะเป็นอันตรายอย่างยิ่ง ดังนั้นก่อนมีนโยบายขยายพื้นที่การเพาะปลูก ต้องมีการคาดคะเนปริมาณความต้องการยางธรรมชาติของตลาดโลกไว้ก่อน ประเมินศักยภาพของประเทศอื่นในการขยายพื้นที่การเพาะปลูก และเพื่อเตรียมรับมือกับปัญหายางธรรมชาติล้นตลาดในอนาคตเราต้องมีการสร้างดีมานด์ หรือความต้องการยางธรรมชาติให้มากขึ้น โดยอาจต้องมุ่งไปที่การใช้ประโยชน์ในประเทศเพื่อลดการพึ่งพาตลาดต่างประเทศ ที่สำคัญต้องผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมที่ใช้ยางเป็นวัตถุดิบให้มากขึ้นในประเทศ ดังนั้นจำเป็นต้องมีการลงทุนการวิจัยเพื่อเพิ่มมูลค่ายางให้มากขึ้น และมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองและใช้ประโยชน์ภายในประเทศ โดยมองการส่งออกเป็นเรื่องรองลงไป
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.18 บาท ลดลงจาก 60.07 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.89 บาทหรือร้อยละ 13.13
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.68 บาท ลดลงจาก 59.57 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.89 บาท หรือร้อยละ 13.24
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.18 บาท ลดลงจาก 59.07 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.89 บาท หรือร้อยละ 13.36
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.11 บาท ลดลงจาก 58.07 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.96 บาท หรือร้อยละ 13.71
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.87 บาท ลดลงจาก 56.06 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.19 หรือร้อยละ 11.04
ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.40 บาท ลดลงจาก 59.83 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 10.43 บาท หรือร้อยละ 17.43
ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.47 บาท ลดลงจาก 34.93 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.46 บาท หรือร้อยละ 9.90
เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.70 บาท ลดลงจาก 31.42 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.72 บาท หรือร้อยละ 11.84
น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.69 บาท ลดลงจาก 49.97 บาท ของสัปดาห์ ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.28 บาท หรือร้อยละ 12.57 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2549
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.20 บาท ลดลงจาก 71.77 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.37
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.05 บาท ลดลงจาก 70.62 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.47
น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.24 บาท ลดลงจาก 47.92 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.68 บาท หรือร้อยละ 5.59
ณ ท่าเรือสงขลา
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.95 บาท ลดลงจาก 71.52 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.39
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.80 บาท ลดลงจาก 70.37 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.57 บาท หรือร้อยละ 6.49
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.99 บาท ลดลงจาก 47.67 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 2.68 บาท หรือร้อยละ 5.62
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
เจ้าหน้าที่อาวุโสกระทรวงอุตสาหกรรมของมาเลเซีย กล่าวว่า ปี 2549 ผลผลิตยางธรรมชาติในประเทศผู้ผลิตรายใหญ่อย่างไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย มีผลผลิตเพิ่มขึ้นใกล้เคียงกันประมาณร้อยละ 4.8 เป็นผลจากสภาพอากาศและราคายางที่สูงขึ้น และนาย Quah Swee Kheng เลขาธิการสภาธุรกิจยางพาราอาเซียน กล่าวว่าผลผลิตยางของทั้ง 3 ประเทศรวมกันคิดเป็นร้อยละ 70 ของผลผลิตยางทั้งโลกโดยเพิ่มจากปีที่แล้ว 0.3 ล้านตัน ขณะนี้เกษตรกรเริ่มกรีดยางมากขึ้นเนื่องจากแรงจูงใจทางด้านราคาและอากาศที่เอื้ออำนวย ปี 2549 ราคายางพาราเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 300 นับตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา และความต้องการยางจากจีนก็ค่อยๆเพิ่มขึ้นด้วย ไทยมีผลผลิตประมาณ 3 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.937 ล้านตันจากปีที่แล้ว อินโดนีเซียมีผลผลิต 2.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.27 ล้านตัน ขณะที่มาเลเซียคาดว่าจะมีผลผลิต 1.2 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.126 ล้านตัน
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือน พฤศจิกายน 2549
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 281.13 เซนต์สิงคโปร์ (65.82 บาท) ลดลงจาก 293.63 เซนต์สิงคโปร์ (68.63 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 12.50 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 4.26
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 173.88 เซนต์สหรัฐ (64.85 บาท) ลดลงจาก 180.88 เซนต์สหรัฐ (67.29 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.00 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 3.87
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 144.06 เพนนี (53.73บาท) ลดลงจาก 149.50 เพนนี(55.62 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.44 เพนนี หรือร้อยละ3.64
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.20 เยน (63.67 บาท) ลดลงจาก 205.10 เยน(64.59 บาท)ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.90 เยน หรือร้อยละ 2.39
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 38 ประจำวันที่ 25 กย.- 1 ตค.2549--
-พห-