สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนทำให้สุกรที่ออกสู่ตลาดยังคงมีปริมาณน้อย แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวสูงขึ้นตามความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นเมื่อสถานศึกษาเริ่มเปิดภาคเรียน
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.14 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.33 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 49.06 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 47.84 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 48.85 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 53.59 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 1,400 บาท (บวกลบ 48 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาท และราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง เนื่องจากความต้องการบริโภคไก่เนื้ออ่อนตัวลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา แม้ว่าการผลิตไก่เนื้อลดลงเหลือสัปดาห์ละ 15 ล้านตัว แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
อธิบดีกรมปศุสัตว์ ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ประจำด่านกักกันสัตว์ ในเขตชายแดนไทย-พม่าทุกแห่ง คุมเข้มไม่ให้มีการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีกทุกชนิดจากพม่าเข้ามาในประเทศไทย เพราะประเทศพม่ากำลังมีการแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดนกอย่างรุนแรง นอกจากนี้ได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์จังหวัด ทั่วประเทศ เร่งตรวจสอบและเอ็กซเรย์พื้นที่เลี้ยงสัตว์ปีกอย่างละเอียด
กรมปศุสัตว์เตรียมปรับแผนการเอ็กซเรย์พื้นที่เลี้ยงสัตว์ปีก เพื่อหาเชื้อโรคไข้หวัดนกให้เร็วขึ้นจากเดิมที่กำหนดไว้ประมาณเดือนกรกฎาคมเป็นกลางเดือนมิถุนายน เนื่องจากปีนี้ฤดูฝนมาเร็วกว่าปีที่ผ่านมา ทำให้เสี่ยงต่อโรคไข้หวัดนกระบาดเร็วขึ้น ซึ่งเป็นมาตรการป้องกันเชิงรุก โดยกระทรงเกษตรฯ ตั้งเป้าหมายไม่ให้มีเชื้อไข้หวัดนกแพร่ระบาดเกินกว่า 25 จุด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 34.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 34.69 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.67 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 37.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 34.49 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 30.91 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 35.33 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 9.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 38.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ยังคงปรับตัวลดลงอีกอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาคกลางซึ่งเป็นแหล่งเลี้ยงใหญ่ ราคาได้ปรับตัวลดลงมาก ประกอบกับผู้บริโภคหันไปบริโภคสัตว์น้ำตามธรรมชาติและผลไม้ตามฤดูกาลที่ออกสู่ตลาดมากและราคาถูก แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 191 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 195 บาท จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.79 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 183 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 212 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 181 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 215 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 17 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 180 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 241 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 238 บาท จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.17 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 224 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 261 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 242 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 184 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 302 ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.89 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.71 บาท จากสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.37 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 42.73 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 56.62 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 45.12 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 50.05 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.81 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 40.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.20 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.48 บาท ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 17 ประจำวันที่ 1-7 พฤษภาคม 2549--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนทำให้สุกรที่ออกสู่ตลาดยังคงมีปริมาณน้อย แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวสูงขึ้นตามความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นเมื่อสถานศึกษาเริ่มเปิดภาคเรียน
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.14 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.33 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 49.06 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 47.84 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 48.85 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 53.59 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 1,400 บาท (บวกลบ 48 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาท และราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 56.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง เนื่องจากความต้องการบริโภคไก่เนื้ออ่อนตัวลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา แม้ว่าการผลิตไก่เนื้อลดลงเหลือสัปดาห์ละ 15 ล้านตัว แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
อธิบดีกรมปศุสัตว์ ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ประจำด่านกักกันสัตว์ ในเขตชายแดนไทย-พม่าทุกแห่ง คุมเข้มไม่ให้มีการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีกทุกชนิดจากพม่าเข้ามาในประเทศไทย เพราะประเทศพม่ากำลังมีการแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดนกอย่างรุนแรง นอกจากนี้ได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์จังหวัด ทั่วประเทศ เร่งตรวจสอบและเอ็กซเรย์พื้นที่เลี้ยงสัตว์ปีกอย่างละเอียด
กรมปศุสัตว์เตรียมปรับแผนการเอ็กซเรย์พื้นที่เลี้ยงสัตว์ปีก เพื่อหาเชื้อโรคไข้หวัดนกให้เร็วขึ้นจากเดิมที่กำหนดไว้ประมาณเดือนกรกฎาคมเป็นกลางเดือนมิถุนายน เนื่องจากปีนี้ฤดูฝนมาเร็วกว่าปีที่ผ่านมา ทำให้เสี่ยงต่อโรคไข้หวัดนกระบาดเร็วขึ้น ซึ่งเป็นมาตรการป้องกันเชิงรุก โดยกระทรงเกษตรฯ ตั้งเป้าหมายไม่ให้มีเชื้อไข้หวัดนกแพร่ระบาดเกินกว่า 25 จุด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 34.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 34.69 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.67 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 37.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 34.49 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 30.91 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 35.33 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 9.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 38.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ยังคงปรับตัวลดลงอีกอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาคกลางซึ่งเป็นแหล่งเลี้ยงใหญ่ ราคาได้ปรับตัวลดลงมาก ประกอบกับผู้บริโภคหันไปบริโภคสัตว์น้ำตามธรรมชาติและผลไม้ตามฤดูกาลที่ออกสู่ตลาดมากและราคาถูก แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 191 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 195 บาท จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.79 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 183 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 212 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 181 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 215 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 17 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 180 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 241 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 238 บาท จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.17 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 224 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 261 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 242 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 184 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 302 ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.89 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.71 บาท จากสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.37 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 42.73 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 56.62 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 45.12 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 50.05 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.81 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 40.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.20 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.48 บาท ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 17 ประจำวันที่ 1-7 พฤษภาคม 2549--
-พห-