คำถาม : อยากทราบเส้นทางการขนส่งสินค้าทางเรือจากไทยไปรัสเซีย
คำตอบ : การขนส่งสินค้าทางเรือจากไทยไปรัสเซียนั้น มีหลายเส้นทางให้เลือก แต่เนื่องจากรัสเซียเป็นประเทศที่กว้างใหญ่มาก จึง
ต้องเลือกด้วยว่าจะขนส่งสินค้าเข้าไปรัสเซียทางตะวันตกหรือทางตะวันออกของประเทศ ซึ่งย่อมขึ้นกับเมืองปลายทางของสินค้านั้น ๆ ทั้งนี้ บางเส้นทาง
อาจขนส่งไปขึ้นที่ท่าเรือของรัสเซียโดยตรง ขณะที่บางเส้นทางอาจขึ้นที่ท่าเรือของประเทศอื่นก่อน หลังจากนั้นจึงขนส่งทางบกเข้าไปยังรัสเซียอีกต่อ
หนึ่ง อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจเลือกใช้เส้นทางใดย่อมต้องขึ้นกับปัจจัยที่ผู้ส่งออกเลือกให้ความสำคัญด้วย เช่น ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ระยะเวลา
ในการขนส่งปัญหาระหว่างทาง ฯลฯ สำหรับรายละเอียดที่น่าสนใจของแต่ละเส้นทางมีดังนี้
- เส้นทางขนส่งไปทางตะวันตกของรัสเซีย
ระยะทางจากไทย ระยะเวลา
ท่าเรือที่ขึ้นสินค้า ถึงท่าเรือปลายทาง (ถึงท่าเรือ) ข้อสังเกต
ท่าเรือ Bandar Abbas : อิหร่าน 4,200 ไมล์ ~8 วัน ยังไม่เป็นที่นิยมนัก เพราะต้องขนส่งทางบกผ่าน
การขนส่งเส้นทางนี้จะเข้าทาง หลายประเทศโดยเรียบชายแดน ซึ่งเส้นทางยังลำบาก
ปากอ่าวเปอร์เซีย และไม่ปลอดภัย และยังต้องผ่านพิธีการทางศุลกากรของ
หลายประเทศ แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า การขนส่งผ่าน
เส้นทางนี้มีระยะทางสั้นที่สุด อีกทั้งยังสามารถขนส่ง
โดยรถบรรทุกต่อไปยังประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มประเทศ
เครือรัฐเอกราช (The Commonwealth of Independent
States : CIS) อาทิ อาร์เมเนีย คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ได้ด้วย
ท่าเรือ Odessa : ยูเครน 7,000 ไมล์ ~14 วัน ท่าเรือ Odessa ยังไม่มีความพร้อม และอยู่ระหว่าง
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่านทะเลแดง การพัฒนา เมื่อสินค้าถึงท่าเรือแล้ว ต้องขนส่งทางบก
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเข้าทะเลดำ ต่อไปยังรัสเซีย ซึ่งมีความยุ่งยาก และสภาพถนนยังไม่ดีนัก
ท่าเรือในยุโรปเหนือ อาทิ 9,500 ไมล์ ~30 วัน บริษัทเดินเรือหลายแห่งนิยมเลือกใช้เส้นทางนี้
ท่าเรือ Humburg (เยอรมนี) เนื่องจากสามารถแวะส่งสินค้าที่ท่าเรือใหญ่ ๆ ในยุโรป
ท่าเรือ Kotga (ฟินแลนด์) ได้ด้วย อย่างไรก็ตาม เมื่อสินค้าถึงท่าเรือปลายทางแล้ว
ท่าเรือ Riga (ลัตเวีย) ต้องขนส่งทางบกต่อไปยังรัสเซียซึ่งใช้เวลานานกว่า
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่านทะเลแดง เข้าทางท่าเรือ St. Petersburg โดยตรง
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทะเลบอลติก
ท่าเรือ St. Petersburg : รัสเซีย 10,300 ไมล์ ~21 วัน เส้นทางนี้มีระยะทางการขนส่งยาวที่สุดและค่าขนส่ง
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่านทะเลแดง ค่อนข้างแพง แต่ท่าเรือ St. Petersburg มีความพร้อม
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ และทันสมัย รวมทั้งเป็นเส้นทางการขนส่งที่ปลอดภัย
ทะเลบอลติก ทำให้เป็นเส้นทางที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
- เส้นทางขนส่งไปทางตะวันออกของรัสเซีย
ระยะทางจากไทย ระยะเวลา
ท่าเรือที่ขึ้นสินค้า ถึงท่าเรือปลายทาง (ถึงท่าเรือ) ข้อสังเกต
ท่าเรือ Vladivostok : รัสเซีย 3,900 ไมล์ ~6 วัน เป็นระยะทางขนส่งเข้ารัสเซียที่สั้นที่สุด และเป็นที่นิยมมาก
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่าน โดยเน้นกระจายสินค้าทางตะวันออกของรัสเซีย แต่หาก
ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนตะวันออก ต้องการขนส่งต่อไปยังกรุงมอสโก และเมืองอื่น ๆ ทาง
และทะเลญี่ปุ่น ฝั่งตะวันตกของประเทศ สามารถบรรทุกคอนเทนเนอร์และ
ใช้บริการรถไฟสาย Trans-Siberian ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟ
สายหลักของรัสเซีย แต่ไม่เป็นที่นิยมมากนัก เนื่องจาก
ต้องใช้เวลาขนส่งนานกว่าและมีค่าใช้จ่ายสูงกว่า
การขนส่งเข้าทางท่าเรือ St. Petersburg โดยตรง
อย่างไรก็ตาม การขนส่งสินค้าผ่านเส้นทางรถไฟ
สาย Trans-Siberian ยังเป็นเส้นทางที่สามารถส่งต่อ
สินค้าไปยังประเทศต่าง ๆ ในกลุ่ม CIS อาทิ คาซัคสถาน
คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน ได้อีกด้วย
--ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย มิถุนายน 2549--
-พห-
คำตอบ : การขนส่งสินค้าทางเรือจากไทยไปรัสเซียนั้น มีหลายเส้นทางให้เลือก แต่เนื่องจากรัสเซียเป็นประเทศที่กว้างใหญ่มาก จึง
ต้องเลือกด้วยว่าจะขนส่งสินค้าเข้าไปรัสเซียทางตะวันตกหรือทางตะวันออกของประเทศ ซึ่งย่อมขึ้นกับเมืองปลายทางของสินค้านั้น ๆ ทั้งนี้ บางเส้นทาง
อาจขนส่งไปขึ้นที่ท่าเรือของรัสเซียโดยตรง ขณะที่บางเส้นทางอาจขึ้นที่ท่าเรือของประเทศอื่นก่อน หลังจากนั้นจึงขนส่งทางบกเข้าไปยังรัสเซียอีกต่อ
หนึ่ง อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจเลือกใช้เส้นทางใดย่อมต้องขึ้นกับปัจจัยที่ผู้ส่งออกเลือกให้ความสำคัญด้วย เช่น ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ระยะเวลา
ในการขนส่งปัญหาระหว่างทาง ฯลฯ สำหรับรายละเอียดที่น่าสนใจของแต่ละเส้นทางมีดังนี้
- เส้นทางขนส่งไปทางตะวันตกของรัสเซีย
ระยะทางจากไทย ระยะเวลา
ท่าเรือที่ขึ้นสินค้า ถึงท่าเรือปลายทาง (ถึงท่าเรือ) ข้อสังเกต
ท่าเรือ Bandar Abbas : อิหร่าน 4,200 ไมล์ ~8 วัน ยังไม่เป็นที่นิยมนัก เพราะต้องขนส่งทางบกผ่าน
การขนส่งเส้นทางนี้จะเข้าทาง หลายประเทศโดยเรียบชายแดน ซึ่งเส้นทางยังลำบาก
ปากอ่าวเปอร์เซีย และไม่ปลอดภัย และยังต้องผ่านพิธีการทางศุลกากรของ
หลายประเทศ แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า การขนส่งผ่าน
เส้นทางนี้มีระยะทางสั้นที่สุด อีกทั้งยังสามารถขนส่ง
โดยรถบรรทุกต่อไปยังประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มประเทศ
เครือรัฐเอกราช (The Commonwealth of Independent
States : CIS) อาทิ อาร์เมเนีย คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ได้ด้วย
ท่าเรือ Odessa : ยูเครน 7,000 ไมล์ ~14 วัน ท่าเรือ Odessa ยังไม่มีความพร้อม และอยู่ระหว่าง
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่านทะเลแดง การพัฒนา เมื่อสินค้าถึงท่าเรือแล้ว ต้องขนส่งทางบก
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเข้าทะเลดำ ต่อไปยังรัสเซีย ซึ่งมีความยุ่งยาก และสภาพถนนยังไม่ดีนัก
ท่าเรือในยุโรปเหนือ อาทิ 9,500 ไมล์ ~30 วัน บริษัทเดินเรือหลายแห่งนิยมเลือกใช้เส้นทางนี้
ท่าเรือ Humburg (เยอรมนี) เนื่องจากสามารถแวะส่งสินค้าที่ท่าเรือใหญ่ ๆ ในยุโรป
ท่าเรือ Kotga (ฟินแลนด์) ได้ด้วย อย่างไรก็ตาม เมื่อสินค้าถึงท่าเรือปลายทางแล้ว
ท่าเรือ Riga (ลัตเวีย) ต้องขนส่งทางบกต่อไปยังรัสเซียซึ่งใช้เวลานานกว่า
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่านทะเลแดง เข้าทางท่าเรือ St. Petersburg โดยตรง
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทะเลบอลติก
ท่าเรือ St. Petersburg : รัสเซีย 10,300 ไมล์ ~21 วัน เส้นทางนี้มีระยะทางการขนส่งยาวที่สุดและค่าขนส่ง
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่านทะเลแดง ค่อนข้างแพง แต่ท่าเรือ St. Petersburg มีความพร้อม
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ และทันสมัย รวมทั้งเป็นเส้นทางการขนส่งที่ปลอดภัย
ทะเลบอลติก ทำให้เป็นเส้นทางที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
- เส้นทางขนส่งไปทางตะวันออกของรัสเซีย
ระยะทางจากไทย ระยะเวลา
ท่าเรือที่ขึ้นสินค้า ถึงท่าเรือปลายทาง (ถึงท่าเรือ) ข้อสังเกต
ท่าเรือ Vladivostok : รัสเซีย 3,900 ไมล์ ~6 วัน เป็นระยะทางขนส่งเข้ารัสเซียที่สั้นที่สุด และเป็นที่นิยมมาก
การขนส่งเส้นทางนี้จะผ่าน โดยเน้นกระจายสินค้าทางตะวันออกของรัสเซีย แต่หาก
ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนตะวันออก ต้องการขนส่งต่อไปยังกรุงมอสโก และเมืองอื่น ๆ ทาง
และทะเลญี่ปุ่น ฝั่งตะวันตกของประเทศ สามารถบรรทุกคอนเทนเนอร์และ
ใช้บริการรถไฟสาย Trans-Siberian ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟ
สายหลักของรัสเซีย แต่ไม่เป็นที่นิยมมากนัก เนื่องจาก
ต้องใช้เวลาขนส่งนานกว่าและมีค่าใช้จ่ายสูงกว่า
การขนส่งเข้าทางท่าเรือ St. Petersburg โดยตรง
อย่างไรก็ตาม การขนส่งสินค้าผ่านเส้นทางรถไฟ
สาย Trans-Siberian ยังเป็นเส้นทางที่สามารถส่งต่อ
สินค้าไปยังประเทศต่าง ๆ ในกลุ่ม CIS อาทิ คาซัคสถาน
คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน ได้อีกด้วย
--ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย มิถุนายน 2549--
-พห-