แท็ก
อุตสาหกรรม
-34.4 แต่มีการจ้างงานเพิ่มขึ้นจากเดือนเมษายน 2548 ที่มีจำนวนการจ้างงาน 9,725 คน ร้อยละ 26.2ในส่วนของจำนวนเงินลงทุนลดลงจากเดือนเมษายน 2548 ซึ่งมีการลงทุนเพิ่ม 18,088.69 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ -44.7
- อุตสาหกรรมที่มีจำนวนโรงงานเริ่มประกอบกิจการมากที่สุดในเดือนเมษายน 2549 คือ อุตสาหกรรมขุดหรือลอก กรวด ทรายหรือดิน จำนวน 43 ราย รองลงมาคือ อุตสาหกรรมกลึง เจาะ คว้าน กัด ไส เจียน เชื่อมโลหะทั่วไป จำนวน 17 ราย
- อุตสาหกรรมที่เริ่มประกอบกิจการโดยมีการลงทุนสูงสุดในเดือนเมษายน 2549 คือ
อุตสาหกรรมทำอาหารจากสัตว์น้ำบรรจุในภาชนะผนึกอากาศเข้าไม่ได้ 1,446 ล้านบาท รองลงมาคือ อุตสาหกรรมถลุง หลอม หล่อ รีด ดึง ผลิตเหล็ก เหล็กกล้าในขั้นต้น มีเงินทุน 917 ล้านบาท
- อุตสาหกรรมที่เริ่มประกอบกิจการและมีการจ้างงานสูงสุดในเดือนเมษายน 2549 คือ อุตสาหกรรมทำอาหารจากสัตว์น้ำบรรจุในภาชนะผนึกอากาศเข้าไม่ได้ คนงาน 2,546 คน รองลงมาคือ อุตสาหกรรมตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม ผ้าเช็ดหน้า เนกไท ถุงมือ ถุงเท้าจากผ้า หนังสัตว์ คนงาน 1,196 คน
- ภาวะการเลิกกิจการของโรงงานจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนมีนาคม 2549 มีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวน 98 ราย น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ซึ่งมีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวน 171 ราย คิดเป็นร้อยละ -42.7 ในส่วนของเงินทุนมีจำนวน 1,841.10 ล้านบาท น้อยกว่าเดือนมีนาคมที่การเลิกกิจการคิดเป็นเงินทุน 3,030.83 ล้านบาท สำหรับการเลิกจ้างงานมีจำนวน 3,635 คน น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ซึ่งเลิกจ้างงานจำนวน 4,470 คน
- ภาวะการเลิกกิจการของโรงงานจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน มีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวนน้อยกว่าเดือนเมษายน 2548 ซึ่งมีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวน 150 ราย คิดเป็นร้อยละ —34.7 ในส่วนการเลิกจ้างงานน้อยกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่การเลิกจ้างงานมีจำนวน 4,154 คน แต่ในส่วนของเงินทุนของการเลิกกิจการมากกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่การเลิกกิจการคิดเป็นเงินทุน 800.94 ล้านบาท
- อุตสาหกรรมที่มีจำนวนโรงงานเลิกกิจการมากที่สุดในเดือนเมษายน 2549 คือ อุตสาหกรรมทำผลิตภัณฑ์คอนกรีต คอนกรีตผสม ผลิตภัณฑ์ยิมซั่ม ปูนปลาสเตอร์ จำนวน 13 ราย รองลงมาคือ อุตสาหกรรมซ่อมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือส่วนประกอบ จำนวน 12 ราย
- อุตสาหกรรมที่เลิกประกอบกิจการโดยที่มีเงินลงทุนสูงสุดในเดือนเมษายน 2549 คืออุตสาหกรรมผลิต ซ่อมเครื่องคำนวณ เครื่องทำบัญชี เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เงินทุน 576 ล้านบาท รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทำผลิตยาง นอกเหนือจากระบุไว้ในลำดับที่ 51(ลำดับที่ 51 การผลิต ซ่อม หล่อ หล่อดอกยางนอก ยางในสำหรับยานพาหนะ) เงินทุน 425 ล้านบาท
- อุตสาหกรรมที่เลิกประกอบกิจการและจำนวนคนงานสูงสุดในเดือนเมษายน 2549
คือ อุตสาหกรรมทำผลิตยาง นอกเหนือจากระบุไว้ในลำดับที่ 51 คนงาน 1,080 คน รองลงมาคือ อุตสาหกรรมผลิต ซ่อมเครื่องคำนวณ เครื่องทำบัญชี เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ คนงาน 509 คน
- ภาวะการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (สกท.) ในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนมีนาคม 2549 มีจำนวนโครงการที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนจาก สกท. ทั้งสิ้น 82 โครงการ น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ที่มีจำนวน 120 โครงการ ลดลงร้อยละ-31.7 และมีเงินลงทุน 15,300 ล้านบาท น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ที่มีเงินลงทุน 77,200 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ -80.2
- ภาวะการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (สกท.) ในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน มีจำนวนโครงการที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนจาก สกท.มากกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่มีจำนวน 75 โครงการ ร้อยละ 9.3 และมีเงินลงทุนมากกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่มีเงินลงทุน 12,400 ล้านบาท ร้อยละ 23.4
- การกระจายหุ้นของโครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมในช่วงเดือน ม.ค.-เม.ย..2549
การร่วมทุน จำนวน(โครงการ) มูลค่าเงินลงทุน(ล้านบาท)
1.โครงการคนไทย 100% 139 24,000
2.โครงการต่างชาติ 100% 124 26,500
3.โครงการร่วมทุนไทยและต่างชา 148 70,800
- ประเภทกิจการที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนมากที่สุดในช่วงเดือน ม.ค.-เม.ย.2549 คือ หมวดเคมี กระดาษ และพลาสติกมีมูลค่าเงินลงทุนรวม 57,200 ล้านบาท รองลงมา คือ หมวดผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่ง มีมูลค่าเงินลงทุนรวม 17,300 ล้านบาท
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
- อุตสาหกรรมที่มีจำนวนโรงงานเริ่มประกอบกิจการมากที่สุดในเดือนเมษายน 2549 คือ อุตสาหกรรมขุดหรือลอก กรวด ทรายหรือดิน จำนวน 43 ราย รองลงมาคือ อุตสาหกรรมกลึง เจาะ คว้าน กัด ไส เจียน เชื่อมโลหะทั่วไป จำนวน 17 ราย
- อุตสาหกรรมที่เริ่มประกอบกิจการโดยมีการลงทุนสูงสุดในเดือนเมษายน 2549 คือ
อุตสาหกรรมทำอาหารจากสัตว์น้ำบรรจุในภาชนะผนึกอากาศเข้าไม่ได้ 1,446 ล้านบาท รองลงมาคือ อุตสาหกรรมถลุง หลอม หล่อ รีด ดึง ผลิตเหล็ก เหล็กกล้าในขั้นต้น มีเงินทุน 917 ล้านบาท
- อุตสาหกรรมที่เริ่มประกอบกิจการและมีการจ้างงานสูงสุดในเดือนเมษายน 2549 คือ อุตสาหกรรมทำอาหารจากสัตว์น้ำบรรจุในภาชนะผนึกอากาศเข้าไม่ได้ คนงาน 2,546 คน รองลงมาคือ อุตสาหกรรมตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม ผ้าเช็ดหน้า เนกไท ถุงมือ ถุงเท้าจากผ้า หนังสัตว์ คนงาน 1,196 คน
- ภาวะการเลิกกิจการของโรงงานจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนมีนาคม 2549 มีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวน 98 ราย น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ซึ่งมีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวน 171 ราย คิดเป็นร้อยละ -42.7 ในส่วนของเงินทุนมีจำนวน 1,841.10 ล้านบาท น้อยกว่าเดือนมีนาคมที่การเลิกกิจการคิดเป็นเงินทุน 3,030.83 ล้านบาท สำหรับการเลิกจ้างงานมีจำนวน 3,635 คน น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ซึ่งเลิกจ้างงานจำนวน 4,470 คน
- ภาวะการเลิกกิจการของโรงงานจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน มีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวนน้อยกว่าเดือนเมษายน 2548 ซึ่งมีโรงงานที่ปิดดำเนินกิจการจำนวน 150 ราย คิดเป็นร้อยละ —34.7 ในส่วนการเลิกจ้างงานน้อยกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่การเลิกจ้างงานมีจำนวน 4,154 คน แต่ในส่วนของเงินทุนของการเลิกกิจการมากกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่การเลิกกิจการคิดเป็นเงินทุน 800.94 ล้านบาท
- อุตสาหกรรมที่มีจำนวนโรงงานเลิกกิจการมากที่สุดในเดือนเมษายน 2549 คือ อุตสาหกรรมทำผลิตภัณฑ์คอนกรีต คอนกรีตผสม ผลิตภัณฑ์ยิมซั่ม ปูนปลาสเตอร์ จำนวน 13 ราย รองลงมาคือ อุตสาหกรรมซ่อมยานที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือส่วนประกอบ จำนวน 12 ราย
- อุตสาหกรรมที่เลิกประกอบกิจการโดยที่มีเงินลงทุนสูงสุดในเดือนเมษายน 2549 คืออุตสาหกรรมผลิต ซ่อมเครื่องคำนวณ เครื่องทำบัญชี เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เงินทุน 576 ล้านบาท รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทำผลิตยาง นอกเหนือจากระบุไว้ในลำดับที่ 51(ลำดับที่ 51 การผลิต ซ่อม หล่อ หล่อดอกยางนอก ยางในสำหรับยานพาหนะ) เงินทุน 425 ล้านบาท
- อุตสาหกรรมที่เลิกประกอบกิจการและจำนวนคนงานสูงสุดในเดือนเมษายน 2549
คือ อุตสาหกรรมทำผลิตยาง นอกเหนือจากระบุไว้ในลำดับที่ 51 คนงาน 1,080 คน รองลงมาคือ อุตสาหกรรมผลิต ซ่อมเครื่องคำนวณ เครื่องทำบัญชี เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ คนงาน 509 คน
- ภาวะการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (สกท.) ในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนมีนาคม 2549 มีจำนวนโครงการที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนจาก สกท. ทั้งสิ้น 82 โครงการ น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ที่มีจำนวน 120 โครงการ ลดลงร้อยละ-31.7 และมีเงินลงทุน 15,300 ล้านบาท น้อยกว่าเดือนมีนาคม 2549 ที่มีเงินลงทุน 77,200 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ -80.2
- ภาวะการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (สกท.) ในเดือนเมษายน 2549 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน มีจำนวนโครงการที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนจาก สกท.มากกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่มีจำนวน 75 โครงการ ร้อยละ 9.3 และมีเงินลงทุนมากกว่าเดือนเมษายน 2548 ที่มีเงินลงทุน 12,400 ล้านบาท ร้อยละ 23.4
- การกระจายหุ้นของโครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมในช่วงเดือน ม.ค.-เม.ย..2549
การร่วมทุน จำนวน(โครงการ) มูลค่าเงินลงทุน(ล้านบาท)
1.โครงการคนไทย 100% 139 24,000
2.โครงการต่างชาติ 100% 124 26,500
3.โครงการร่วมทุนไทยและต่างชา 148 70,800
- ประเภทกิจการที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนมากที่สุดในช่วงเดือน ม.ค.-เม.ย.2549 คือ หมวดเคมี กระดาษ และพลาสติกมีมูลค่าเงินลงทุนรวม 57,200 ล้านบาท รองลงมา คือ หมวดผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่ง มีมูลค่าเงินลงทุนรวม 17,300 ล้านบาท
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-