ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 54.77 บาท/กิโลกรัม
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายกนก คติการ เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร(สศก.) เปิดเผยว่า สศก. คาดว่าระดับราคายางพาราที่เกษตรกรขายได้
ปี 2550 จะลดลงจากปี 2549 ซึ่งเป็นไปตามภาวะราคายางในตลาดโลกที่ปรับตัวตามภาวะอุปสงค์และอุปทาน ขณะที่ปี 2549 ราคายางสูงขึ้น
ผิดปกติ เนื่องจากแรงกระตุ้นจากภายนอกโดยเฉพาะการเก็งกำไรในตลาด ส่วนการส่งออกยางและผลิตภัณฑ์จะเพิ่มตามปัจจัย คือ อัตราการขยาย
ตัวทางเศรษฐกิจของประเทศผู้นำเข้าหลัก ถึงแม้ว่าแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯและจีนจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง แต่ตลาดส่งออกน้ำ
ยางข้นมีการขยายตัวสูงมาก เนื่องจากน้ำยางข้นเป็นวัตถุดิบสำคัญในอุตสาหกรรมเชื่อมโยงหลายประเภท ซึ่งสอดคล้องกับนายหลักชัย กิตติพล
นายกสมาคมยางพาราไทย คาดว่าปี 2549 จะส่งออกได้ 2.6 ล้านตัน มูลค่า 2 แสนล้านบาท แนวโน้มปี 2550 คาดว่าปริมาณจะเพิ่ม
ขึ้นเล็กน้อย แต่มูลค่าจะลดลงเล็กน้อยเพราะราคายางปีนี้สูงเกินไป ซึ่งคาดว่าปริมาณการส่งออกยางจะเพิ่มขึ้นเพราะราคายางในประเทศน่าจะมี
เสถียรภาพ ประกอบกับการขยายตลาดนำเข้า ได้แก่ จีน อินเดีย รัสเซีย บราซิล อาเซียน ส่วนตลาดยุโรปอาจไม่ขยายตัวเท่าที่ควร ขณะ
เดียวกันค่าเงินบาทเริ่มปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น เนื่องจากทาง ธปท. ได้ออกมาตรการรักษาเสถียรภาพน่าจะเป็นผลดีกับการส่งออก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.64 บาท สูงขึ้นจาก 48.78 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.86 บาท หรือร้อยละ 3.81
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.14 บาท สูงขึ้นจาก 48.28 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.86 บาท หรือร้อยละ 3.85
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.64 บาท สูงขึ้นจาก 47.78 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.86 บาท หรือร้อยละ 3.89
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.96 บาท สูงขึ้นจาก 47.02 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.94 บาท หรือร้อยละ 4.13
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.16 บาท สูงขึ้นจาก 46.24 บาท
ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.92 หรือร้อยละ 4.15
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.29 บาท สูงขึ้นจาก 46.74 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.55 บาท
หรือร้อยละ 5.46
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.56 บาท สูงขึ้นจาก 27.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.13 บาท
หรือร้อยละ 0.47
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.65 บาท สูงขึ้นจาก 24.32 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.33 บาท
หรือร้อยละ 1.36
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.46 บาท สูงขึ้นจาก 43.83 บาท ของสัปดาห์ ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.63 บาท
หรือร้อยละ 8.28
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมกราคม 2550
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.55 บาท สูงขึ้นจาก 60.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.70 บาท หรือร้อยละ 4.44
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.40 บาท สูงขึ้นจาก 59.70 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.70 บาท หรือร้อยละ 4.52
3. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.00 บาท สูงขึ้นจาก 39.99 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.01 บาท
หรือร้อยละ 5.03
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.30 บาท สูงขึ้นจาก 60.45 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.85 บาท หรือร้อยละ 4.71
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.15 บาท สูงขึ้นจาก 59.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.57 บาท หรือร้อยละ 4.31
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.75 บาท สูงขึ้นจาก 39.74 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.01 บาท
หรือร้อยละ 5.05
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ปี 2550 อินโดนีเซียคาดว่าจะผลิตยางได้ 2.1 ล้านตัน ลดลงจากเป้าหมายเดิมที่ตั้งไว้ 2.2 ล้านตัน เนื่องจากสภาพอากาศไม่เอื้อ
อำนวยมีฝนตกหนัก ราคายางลดลงจากกิโลกรัมละ 2.50 $ เมื่อกลางปี เหลือ 1.70 $ ในช่วงปลายปี ทำให้อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหา
ราคาวัตถุดิบสูงได้ผ่อนคลายลง ไทยอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ได้ตกลงร่วมกันในการลดการส่งออกยางพาราถ้าราคายางยังคงลดลงอย่างต่อ
เนื่อง โฆษก Gapkindo กล่าวว่าผลผลิตของอินโดนีเซียต่ำกว่าที่คาดไว้ เนื่องจากผลกระทบของปรากฏการณ์เอลนีโนในแปซิฟิก ซึ่งทำให้เกิด
พายุรุนแรง ฝนตกหนัก และสภาวะแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบของปรากฏการณ์ดังกล่าวจะเริ่มต้นเกิดขึ้นในแนวพื้นที่ของอินโดนีเซีย การที่ฝนตกหนัก
ทำให้เกิดน้ำท่วมในพื้นที่ปลูกของ
สุมาตราเหนือ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อต้นยาง สภาพอากาศที่เลวร้ายนี้อาจจะเกิดต่อเนื่องไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ปีหน้า ซึ่งเป็นไปได้ว่า
วัฏจักรการผลิตยางอาจถูกทำลายไป เนื่องจากต้องมีการล้มต้นยางที่ได้รับความเสียหายนำไปทำไม้แทน ทำให้คาดว่าผลผลิตยางปี 2550 จะมี
ปริมาณ 2.1 ล้านตัน
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมกราคม 2550
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 270.95 เซนต์สิงคโปร์ (62.15 บาท) สูงขึ้นจาก 262.00 เซนต์สิงคโปร์
(59.47 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.95 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 3.42
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 172.95 เซนต์สหรัฐ (61.47 บาท) สูงขึ้นจาก 167.00 เซนต์สหรัฐ
(58.63 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.95 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 3.56
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 205.98 เยน (61.76 บาท) สูงขึ้นจาก 197.98 เยน
(59.15 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.00 เยน หรือร้อยละ 4.04
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 50 ประจำวันที่ 18 - 24 ธันวาคม 2549--
-พห-
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายกนก คติการ เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร(สศก.) เปิดเผยว่า สศก. คาดว่าระดับราคายางพาราที่เกษตรกรขายได้
ปี 2550 จะลดลงจากปี 2549 ซึ่งเป็นไปตามภาวะราคายางในตลาดโลกที่ปรับตัวตามภาวะอุปสงค์และอุปทาน ขณะที่ปี 2549 ราคายางสูงขึ้น
ผิดปกติ เนื่องจากแรงกระตุ้นจากภายนอกโดยเฉพาะการเก็งกำไรในตลาด ส่วนการส่งออกยางและผลิตภัณฑ์จะเพิ่มตามปัจจัย คือ อัตราการขยาย
ตัวทางเศรษฐกิจของประเทศผู้นำเข้าหลัก ถึงแม้ว่าแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯและจีนจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง แต่ตลาดส่งออกน้ำ
ยางข้นมีการขยายตัวสูงมาก เนื่องจากน้ำยางข้นเป็นวัตถุดิบสำคัญในอุตสาหกรรมเชื่อมโยงหลายประเภท ซึ่งสอดคล้องกับนายหลักชัย กิตติพล
นายกสมาคมยางพาราไทย คาดว่าปี 2549 จะส่งออกได้ 2.6 ล้านตัน มูลค่า 2 แสนล้านบาท แนวโน้มปี 2550 คาดว่าปริมาณจะเพิ่ม
ขึ้นเล็กน้อย แต่มูลค่าจะลดลงเล็กน้อยเพราะราคายางปีนี้สูงเกินไป ซึ่งคาดว่าปริมาณการส่งออกยางจะเพิ่มขึ้นเพราะราคายางในประเทศน่าจะมี
เสถียรภาพ ประกอบกับการขยายตลาดนำเข้า ได้แก่ จีน อินเดีย รัสเซีย บราซิล อาเซียน ส่วนตลาดยุโรปอาจไม่ขยายตัวเท่าที่ควร ขณะ
เดียวกันค่าเงินบาทเริ่มปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น เนื่องจากทาง ธปท. ได้ออกมาตรการรักษาเสถียรภาพน่าจะเป็นผลดีกับการส่งออก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.64 บาท สูงขึ้นจาก 48.78 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.86 บาท หรือร้อยละ 3.81
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.14 บาท สูงขึ้นจาก 48.28 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.86 บาท หรือร้อยละ 3.85
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.64 บาท สูงขึ้นจาก 47.78 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.86 บาท หรือร้อยละ 3.89
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.96 บาท สูงขึ้นจาก 47.02 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.94 บาท หรือร้อยละ 4.13
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.16 บาท สูงขึ้นจาก 46.24 บาท
ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.92 หรือร้อยละ 4.15
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.29 บาท สูงขึ้นจาก 46.74 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.55 บาท
หรือร้อยละ 5.46
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.56 บาท สูงขึ้นจาก 27.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.13 บาท
หรือร้อยละ 0.47
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.65 บาท สูงขึ้นจาก 24.32 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.33 บาท
หรือร้อยละ 1.36
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.46 บาท สูงขึ้นจาก 43.83 บาท ของสัปดาห์ ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.63 บาท
หรือร้อยละ 8.28
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมกราคม 2550
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.55 บาท สูงขึ้นจาก 60.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.70 บาท หรือร้อยละ 4.44
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.40 บาท สูงขึ้นจาก 59.70 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.70 บาท หรือร้อยละ 4.52
3. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.00 บาท สูงขึ้นจาก 39.99 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.01 บาท
หรือร้อยละ 5.03
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.30 บาท สูงขึ้นจาก 60.45 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.85 บาท หรือร้อยละ 4.71
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.15 บาท สูงขึ้นจาก 59.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.57 บาท หรือร้อยละ 4.31
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.75 บาท สูงขึ้นจาก 39.74 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.01 บาท
หรือร้อยละ 5.05
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ปี 2550 อินโดนีเซียคาดว่าจะผลิตยางได้ 2.1 ล้านตัน ลดลงจากเป้าหมายเดิมที่ตั้งไว้ 2.2 ล้านตัน เนื่องจากสภาพอากาศไม่เอื้อ
อำนวยมีฝนตกหนัก ราคายางลดลงจากกิโลกรัมละ 2.50 $ เมื่อกลางปี เหลือ 1.70 $ ในช่วงปลายปี ทำให้อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหา
ราคาวัตถุดิบสูงได้ผ่อนคลายลง ไทยอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ได้ตกลงร่วมกันในการลดการส่งออกยางพาราถ้าราคายางยังคงลดลงอย่างต่อ
เนื่อง โฆษก Gapkindo กล่าวว่าผลผลิตของอินโดนีเซียต่ำกว่าที่คาดไว้ เนื่องจากผลกระทบของปรากฏการณ์เอลนีโนในแปซิฟิก ซึ่งทำให้เกิด
พายุรุนแรง ฝนตกหนัก และสภาวะแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบของปรากฏการณ์ดังกล่าวจะเริ่มต้นเกิดขึ้นในแนวพื้นที่ของอินโดนีเซีย การที่ฝนตกหนัก
ทำให้เกิดน้ำท่วมในพื้นที่ปลูกของ
สุมาตราเหนือ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อต้นยาง สภาพอากาศที่เลวร้ายนี้อาจจะเกิดต่อเนื่องไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ปีหน้า ซึ่งเป็นไปได้ว่า
วัฏจักรการผลิตยางอาจถูกทำลายไป เนื่องจากต้องมีการล้มต้นยางที่ได้รับความเสียหายนำไปทำไม้แทน ทำให้คาดว่าผลผลิตยางปี 2550 จะมี
ปริมาณ 2.1 ล้านตัน
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมกราคม 2550
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 270.95 เซนต์สิงคโปร์ (62.15 บาท) สูงขึ้นจาก 262.00 เซนต์สิงคโปร์
(59.47 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.95 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 3.42
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 172.95 เซนต์สหรัฐ (61.47 บาท) สูงขึ้นจาก 167.00 เซนต์สหรัฐ
(58.63 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.95 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 3.56
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 205.98 เยน (61.76 บาท) สูงขึ้นจาก 197.98 เยน
(59.15 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.00 เยน หรือร้อยละ 4.04
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 50 ประจำวันที่ 18 - 24 ธันวาคม 2549--
-พห-