ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 95.16 บาท/กิโลกรัม
ยางพารา
สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่าเพื่อสนับสนุน
ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างยางและผลิตภัณฑ์ยาง 3 ปี (2549 — 2551 ) เบื้องต้นกระทรวงเกษตรฯได้เตรียมจัดสรรจำนวน
เงิน 10,840 ล้านบาท เพื่อปรับโครงสร้างยางโดยแบ่งเป็นเงินงบประมาณ 2,088 ล้านบาท เงินกู้ 4,959 ล้านบาท เงินหมุนเวียน
440 ล้านบาท และเงินสนับสนุนผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ยางธรรมชาติ 3,353 ล้านบาท ทั้งนี้วงเงินดังกล่าวจะใช้เพื่อการ
พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ยางพาราของภาคเอกชน ในการพัฒนาศักยภาพเกษตรกร การวิจัยและพัฒนายางพาราทั้งระบบ และพัฒนาตลาด
ยางพาราและรักษาเสถียรภาพราคายาง ซึ่งคาดว่าในปี 2551 ประเทศไทยจะสามารถผลิตยางได้กว่า 3.38 ล้านตัน โดยเตรียมแผนที่จะปรับ
การใช้ยางภายในประเทศเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20 หรือ 6.7 แสนตัน พร้อมปรับโครงสร้างการส่งออกลดลงเหลือร้อยละ 80 และคาดว่าจะ
ช่วยผลักดันการส่งออกยางเพิ่มขึ้นร้อยละ 46 คิดเป็นมูลค่า 381,862 ล้านบาท ตลอดจนพัฒนาระบบตลาดยางของไทยให้เป็นระบบสากลอันน่าจะนำ
ไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกยางของโลกในอนาคต
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 95.60 บาท สูงขึ้นจาก 95.39 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 95.10 บาท สูงขึ้นจาก 94.89 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 94.60 บาท สูงขึ้นจาก 94.39 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 93.56 บาท สูงขึ้นจาก 93.35 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 92.13 บาท สูงขึ้นจาก 91.86 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27
หรือร้อยละ 0.29
ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 94.70 บาท สูงขึ้นจาก 94.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.20 บาท หรือร้อย
ละ 0.21
ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.48 บาท ลดลงจาก 45.76 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.28 บาท หรือ
ร้อยละ 0.61
เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.14 บาท ลดลงจาก 42.18 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือ
ร้อยละ 0.09
น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 89.51 บาท สูงขึ้นจาก 88.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือ
ร้อยละ 0.74
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนสิงหาคม 2549
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 104.94 บาท ลดลงจาก 106.19 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.25 บาท หรือร้อยละ 1.18
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 103.79 บาท ลดลงจาก 105.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.25 บาท หรือร้อยละ 1.19
น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.10 บาท ลดลงจาก 73.53 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.43 บาท
หรือร้อยละ 0.58
ณ ท่าเรือสงขลา
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 104.69 บาท ลดลงจาก 105.94 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.25
บาท หรือร้อยละ 1.18
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 103.54 บาท ลดลงจาก 104.79 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.25 บาท หรือร้อยละ 1.19
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.85 บาท ลดลงจาก 73.28 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.43 บาท
หรือร้อยละ 0.58
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
สมาคมผู้ค้ายางพาราของญี่ปุ่นเปิดเผยว่า สต็อกยางพาราในคลังสินค้าของเอกชนเดือนมิถุนายน 2549 มีประมาณ 14,692 ตัน
ลดลงจาก 18,315 ตัน ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 20 ทั้งนี้เนื่องจากประเทศผู้ผลิตยางพาราต่างๆ โดยเฉพาะไทยซึ่งเป็นผู้ผลิตยางรายใหญ่มี
การส่งมอบล่าช้า เพราะการขาดแคลนผลผลิตจากความไม่เอื้ออำนวยของสภาพอากาศที่มีฝนตกหนักจนเป็นอุปสรรคต่อการกรีดยางของเกษตรกร
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือน สิงหาคม 2549
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 428.63 เซนต์สิงคโปร์ (102.07 บาท) ลดลงจาก 439.13 เซนต์
สิงคโปร์ (104.69 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 10.50 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.39
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 266.94 เซนต์สหรัฐ ( 101.09 บาท) ลดลงจาก 272.31 เซนต์สหรัฐ
(104.17 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.37 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 1.97
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 224.81 เพนนี ( 85.13 บาท ) ลดลงจาก 231.75 เพนนี (88.65
บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.94 เพนนี หรือร้อยละ 2.99
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 323.58 เยน (106.23 บาท) ลดลงจาก 325.90 เยน (106.81
บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.32 เยน หรือร้อยละ 0.71
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 26 ประจำวันที่ 3-9 กรกฎาคม 2549--
-พห-
ยางพารา
สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่าเพื่อสนับสนุน
ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างยางและผลิตภัณฑ์ยาง 3 ปี (2549 — 2551 ) เบื้องต้นกระทรวงเกษตรฯได้เตรียมจัดสรรจำนวน
เงิน 10,840 ล้านบาท เพื่อปรับโครงสร้างยางโดยแบ่งเป็นเงินงบประมาณ 2,088 ล้านบาท เงินกู้ 4,959 ล้านบาท เงินหมุนเวียน
440 ล้านบาท และเงินสนับสนุนผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ยางธรรมชาติ 3,353 ล้านบาท ทั้งนี้วงเงินดังกล่าวจะใช้เพื่อการ
พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ยางพาราของภาคเอกชน ในการพัฒนาศักยภาพเกษตรกร การวิจัยและพัฒนายางพาราทั้งระบบ และพัฒนาตลาด
ยางพาราและรักษาเสถียรภาพราคายาง ซึ่งคาดว่าในปี 2551 ประเทศไทยจะสามารถผลิตยางได้กว่า 3.38 ล้านตัน โดยเตรียมแผนที่จะปรับ
การใช้ยางภายในประเทศเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20 หรือ 6.7 แสนตัน พร้อมปรับโครงสร้างการส่งออกลดลงเหลือร้อยละ 80 และคาดว่าจะ
ช่วยผลักดันการส่งออกยางเพิ่มขึ้นร้อยละ 46 คิดเป็นมูลค่า 381,862 ล้านบาท ตลอดจนพัฒนาระบบตลาดยางของไทยให้เป็นระบบสากลอันน่าจะนำ
ไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกยางของโลกในอนาคต
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 95.60 บาท สูงขึ้นจาก 95.39 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 95.10 บาท สูงขึ้นจาก 94.89 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 94.60 บาท สูงขึ้นจาก 94.39 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 93.56 บาท สูงขึ้นจาก 93.35 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท
หรือร้อยละ 0.22
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 92.13 บาท สูงขึ้นจาก 91.86 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27
หรือร้อยละ 0.29
ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 94.70 บาท สูงขึ้นจาก 94.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.20 บาท หรือร้อย
ละ 0.21
ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.48 บาท ลดลงจาก 45.76 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.28 บาท หรือ
ร้อยละ 0.61
เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.14 บาท ลดลงจาก 42.18 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือ
ร้อยละ 0.09
น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 89.51 บาท สูงขึ้นจาก 88.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือ
ร้อยละ 0.74
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนสิงหาคม 2549
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 104.94 บาท ลดลงจาก 106.19 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.25 บาท หรือร้อยละ 1.18
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 103.79 บาท ลดลงจาก 105.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.25 บาท หรือร้อยละ 1.19
น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.10 บาท ลดลงจาก 73.53 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.43 บาท
หรือร้อยละ 0.58
ณ ท่าเรือสงขลา
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 104.69 บาท ลดลงจาก 105.94 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.25
บาท หรือร้อยละ 1.18
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 103.54 บาท ลดลงจาก 104.79 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
1.25 บาท หรือร้อยละ 1.19
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.85 บาท ลดลงจาก 73.28 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.43 บาท
หรือร้อยละ 0.58
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
สมาคมผู้ค้ายางพาราของญี่ปุ่นเปิดเผยว่า สต็อกยางพาราในคลังสินค้าของเอกชนเดือนมิถุนายน 2549 มีประมาณ 14,692 ตัน
ลดลงจาก 18,315 ตัน ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 20 ทั้งนี้เนื่องจากประเทศผู้ผลิตยางพาราต่างๆ โดยเฉพาะไทยซึ่งเป็นผู้ผลิตยางรายใหญ่มี
การส่งมอบล่าช้า เพราะการขาดแคลนผลผลิตจากความไม่เอื้ออำนวยของสภาพอากาศที่มีฝนตกหนักจนเป็นอุปสรรคต่อการกรีดยางของเกษตรกร
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือน สิงหาคม 2549
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 428.63 เซนต์สิงคโปร์ (102.07 บาท) ลดลงจาก 439.13 เซนต์
สิงคโปร์ (104.69 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 10.50 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.39
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 266.94 เซนต์สหรัฐ ( 101.09 บาท) ลดลงจาก 272.31 เซนต์สหรัฐ
(104.17 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.37 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 1.97
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 224.81 เพนนี ( 85.13 บาท ) ลดลงจาก 231.75 เพนนี (88.65
บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.94 เพนนี หรือร้อยละ 2.99
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 323.58 เยน (106.23 บาท) ลดลงจาก 325.90 เยน (106.81
บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.32 เยน หรือร้อยละ 0.71
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 26 ประจำวันที่ 3-9 กรกฎาคม 2549--
-พห-