1. การผลิต
ในปี 2548 อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังที่จดทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม(รวบรวมข้อมูล กุมภาพันธ์ 2549) มี
ประมาณ 997 โรง มีการจ้างงาน 96,681 คน โรงงานกว่าร้อยละ 90 เป็นอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดเล็ก สามารถแยกได้ดังนี้
อุตสาหกรรมฟอกย้อมแต่งสำเร็จหนัง 194 โรง มีแรงงาน 6,828 คน
อุตสาหกรรมรองเท้า 498 โรง มีแรงงาน 62,662 คน
อุตสาหกรรมของเล่นสัตว์ 24 โรง มีแรงงาน 2,356 คน
อุตสาหกรรมเครื่องหนัง 245 โรง มีแรงงาน 19,976 คน
อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์หนัง 36 โรง มีแรงงาน 4,859 คน
ดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ 2544 2545 2546 2547 2548 2549* %
(มค-ตค) (มค-ตค) การเปลี่ยนแปลง
ISIC:1911 การฟอกและตกแต่งหนังฟอก
-ผลผลิต 93.5 108.4 130.9 98.9 93.7 85.2 -9.1
-การส่งสินค้า 77.7 90.4 79.5 57 53 48.5 -8.5
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 92 244.7 184 224.6 289.9 195.2 -32.7
ISIC:1912 การผลิตกระเป๋าเดินทางกระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
-ผลผลิต 76.9 77.5 60.5 71.4 61.3 56.1 -8.5
-การส่งสินค้า 78.4 76.7 58.3 71.4 56.9 52.6 -7.6
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 50.4 39.5 45.1 138.3 80.1 269.2 236.1
ISIC:1920 การผลิตรองเท้า
-ผลผลิต 109.3 107.5 114.1 109.1 107 113.1 5.7
-การส่งสินค้า 109.7 106.8 113.9 108.5 105.9 111.7 5.5
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 131.1 142.5 125.8 99.7 73.2 61.2 -16.4
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม(ได้ทำการปรังปรุงข้อมูลย้อนหลัง)
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขประมาณการณ์
ในปี 2549 (ม.ค.-ต.ค.)ดัชนีอุตสาหกรรมของรองเท้าและเครื่องหนังมีการเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้
- การฟอกหนังและการตกแต่งหนังฟอก เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีดัชนีผลผลิตลดลงร้อยละ 9.1 ดัชนีการส่งสินค้าลดลงร้อย
ละ 8.5 และดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 32.7
- การผลิตกระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือฯ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีดัชนีผลผลิตลดลงร้อยละ 8.5 ดัชนีการส่งสินค้าลดลงร้อย
ละ 7.6 และดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 236.1
- การผลิตรองเท้า เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีดัชนีผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 ดัชนีการส่งสินค้าลดลงร้อยละ 5.5 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 16.4
2. การตลาด
โครงสร้างสินค้าส่งออก
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ 2545 2546 2547 2548 2549 %
(มค-ตค) (มค-ตค) การเปลี่ยนแปลง
รองเท้าและชิ้นส่วน 772 798.2 764.2 741.3 772.1 4.3
1.รองเท้ากีฬา 460.6 453.2 422.1 445 451.7 1.6
2.รองเท้าแตะ 73.1 82.7 88.2 73.6 62.4 -14.9
3.รองเท้าหนัง 144.7 182.8 189.9 163.1 194 19.2
4.รองเท้าอื่นๆ 58.2 65 49.5 47.7 52 9.2
5.ส่วนประกอบของรองเท้า 35.4 14.2 14.5 11.9 11.9 0
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 304.7 220.8 226.3 178.6 168.1 -5.8
1.กระเป๋าเดินทาง 190.3 108.5 106.1 70.7 62.3 -11.8
2.กระเป๋าถือ 40.1 39.7 39.9 33.9 32.6 -3.8
3.กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 18.5 17.7 17.5 18.3 17.2 -6
4.เครื่องเดินทางอื่นๆ 55.8 54.9 62.8 55.7 56 0.9
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 391.4 424.8 464.1 387.3 364.4 -5.9
1.หนังโคกระบือฟอก 61.2 60.9 67.1 112.8 125.4 11.2
2.ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 46.3 38.9 41.8 27.2 25.7 -5.5
3.ถุงมือหนัง 43.5 45.8 48 39.8 43.8 10.1
4.เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 4.2 3.4 4.7 3.6 3.6 0
5.หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ 236.1 275.7 302.5 203.9 165.9 -18.6
รวม 1,468.10 1,443.80 1,454.60 1,307.20 1304.6 -0.1
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
การส่งออก
การส่งออกสินค้ารองเท้าและเครื่องหนังในปี 2549 (ม.ค.-ต.ค.)มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.1
สินค้าที่มีอัตราการขยายตัวลดลง คือ เครื่องใช้สำหรับเดินทาง และหนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ขยายตัวลดลงร้อยละ 5.8 และ 5.9
รองเท้าและชิ้นส่วน ในปี 2549 มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 4.3 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น
คือ รองเท้าหนัง รองเท้าอื่น ๆ และรองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.2 9.2 และ 1.6 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวลดลง คือ รองเท้าแตะ ลดลงร้อย
ละ 14.9 ตลาดส่งออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นได้แก่ เนเธอร์แลนด์ จีน และฝรั่งเศส ขยายตัวร้อยละ 45.0 36.6 และ 23.7
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง ในปี 2549 มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.8 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวลดลง คือ
กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และกระเป๋าถือลดลงร้อยละ 11.8 6.0 และ 3.8 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ เครื่องเดินทาง
อื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ตลาดส่งออกที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง ฝรั่งเศส และ สเปน ขยายตัวร้อยละ 52.0 31.4
และ 25.0
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.9 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวลดลง คือ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง ลดลงร้อยละ 18.6 และ 5.5 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก และ
ถุงมือหนังขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 และ 10.1 ตลาดส่งออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน และ สหรัฐอเมริกา ขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ
52.7 และ 3.7
โครงสร้างสินค้านำเข้า
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ 2545 2546 2547 2548 2549 %
(มค-ตค) (มค-ตค) การเปลี่ยนแปลง
หนังดิบและหนังฟอก 403.6 470.2 471.7 423.3 391.5 -7.5
รองเท้า 49.6 62.8 69.4 61 90 47.5
1. รองเท้ากีฬา 7.6 10 10.8 11.7 15.3 30.8
2. รองเท้าหนัง 8.9 10.1 14.5 14.3 14.8 3.5
3. รองเท้ายางหรือพลาสติก 1.8 2 3.5 4 4.2 5
4. รองเท้าอื่น ๆ 31.2 40.7 40.5 31 55.8 80
กระเป๋า 31 35.8 51.8 53.2 65.7 23.5
1. กระเป๋าเดินทาง 8.1 9.4 15.3 15.4 18.9 22.7
2. กระเป๋าถือและกระเป๋าอื่น ๆ 22.9 26.4 36.4 37.8 46.8 23.8
รวม 484.2 568.8 592.9 537.5 547.2 1.8
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอกในปี 2549 (ม.ค.-ต.ค.) มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.5 ตลาดสำคัญที่มีการ
ขยายตัวลดลง คือ อาร์เจนตินา อุรุกวัย และสหรัฐอเมริกา ลดลงร้อยละ 33.8 28.1 และ 19.2 ตามลำดับ
รองเท้ามีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.5 เพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มสินค้า คือ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้ากีฬา รองเท้ายางหรือ
พลาสติก รองเท้าหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 80.0 30.8 5.0 และ 3.5 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ อินเดีย
อินโดนีเซีย และจีน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3,100 111.8 และ 68.7 ตามลำดับ
กระเป๋ามีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.5 สินค้าที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือและกระเป๋าอื่น ๆ และกระเป๋าเดินทาง เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 23.8 และ 22.7 ตลาดสำคัญที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ สิงคโปร์ จีน และเบลเยี่ยม เพิ่มขึ้นร้อยละ 75.0 40.1 และ 35.0
ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
ในปี 2549 สภาวการณ์ การผลิตเมื่อเทียบกับปีก่อนลดลงใน 2 กลุ่มผลิตภัณฑ์ คือ ดัชนีผลผลิตหนังฟอกและตกแต่งหนังฟอก และดัชนีผล
ผลิตกระเป๋าฯ ลดลงร้อยละ 9.1 และ 8.5 เนื่องจากการส่งออกลดลง ร้อยละ 5.9 และ 5.8 โดยเฉพาะกระเป๋ามีการนำเข้าจากต่าง
ประเทศมาแย่งส่วนแบ่งตลาดภายในและมีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังที่เพิ่มสูงมาก ดัชนีการผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้น เนื่องจากดัชนีการส่งสินค้า และการส่ง
ออกที่เพิ่มขึ้น
สำหรับในปี 2550 คาดว่าการผลิตหนังฟอกและตกแต่งหนังฟอก กระเป๋าฯและรองเท้าจะมีแนวโน้มที่ลดลง เนื่องจากการค้าเสรีที่การ
แข่งขันสูงที่รุนแรงจากคู่แข่งที่มีอัตราค่าจ้างแรงงานที่ต่ำกว่า โดยเฉพาะ จีน และเวียดนาม ความผันผวนจากราคาน้ำมัน และตลาดส่งออกหลักของ
ไทยมีภาวะเศรษฐกิจซบเซา อีกทั้งอัตราค่าเงินบาทที่แข็งตัวสูงขึ้นในช่วงปลายปี 2549 ส่วนการนำเข้าคาดว่าจะขยายตัวในทุกกลุ่มสินค้าโดยเฉพาะ
มีปัจจัยเสริมจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น และแนวโน้มของการเปิดเสรีทางการค้าแบบทวิภาคีที่มุ่งปรับลดอัตราภาษีนำเข้า
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
ในปี 2548 อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังที่จดทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม(รวบรวมข้อมูล กุมภาพันธ์ 2549) มี
ประมาณ 997 โรง มีการจ้างงาน 96,681 คน โรงงานกว่าร้อยละ 90 เป็นอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดเล็ก สามารถแยกได้ดังนี้
อุตสาหกรรมฟอกย้อมแต่งสำเร็จหนัง 194 โรง มีแรงงาน 6,828 คน
อุตสาหกรรมรองเท้า 498 โรง มีแรงงาน 62,662 คน
อุตสาหกรรมของเล่นสัตว์ 24 โรง มีแรงงาน 2,356 คน
อุตสาหกรรมเครื่องหนัง 245 โรง มีแรงงาน 19,976 คน
อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์หนัง 36 โรง มีแรงงาน 4,859 คน
ดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ 2544 2545 2546 2547 2548 2549* %
(มค-ตค) (มค-ตค) การเปลี่ยนแปลง
ISIC:1911 การฟอกและตกแต่งหนังฟอก
-ผลผลิต 93.5 108.4 130.9 98.9 93.7 85.2 -9.1
-การส่งสินค้า 77.7 90.4 79.5 57 53 48.5 -8.5
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 92 244.7 184 224.6 289.9 195.2 -32.7
ISIC:1912 การผลิตกระเป๋าเดินทางกระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
-ผลผลิต 76.9 77.5 60.5 71.4 61.3 56.1 -8.5
-การส่งสินค้า 78.4 76.7 58.3 71.4 56.9 52.6 -7.6
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 50.4 39.5 45.1 138.3 80.1 269.2 236.1
ISIC:1920 การผลิตรองเท้า
-ผลผลิต 109.3 107.5 114.1 109.1 107 113.1 5.7
-การส่งสินค้า 109.7 106.8 113.9 108.5 105.9 111.7 5.5
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 131.1 142.5 125.8 99.7 73.2 61.2 -16.4
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม(ได้ทำการปรังปรุงข้อมูลย้อนหลัง)
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขประมาณการณ์
ในปี 2549 (ม.ค.-ต.ค.)ดัชนีอุตสาหกรรมของรองเท้าและเครื่องหนังมีการเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้
- การฟอกหนังและการตกแต่งหนังฟอก เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีดัชนีผลผลิตลดลงร้อยละ 9.1 ดัชนีการส่งสินค้าลดลงร้อย
ละ 8.5 และดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 32.7
- การผลิตกระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือฯ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีดัชนีผลผลิตลดลงร้อยละ 8.5 ดัชนีการส่งสินค้าลดลงร้อย
ละ 7.6 และดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 236.1
- การผลิตรองเท้า เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีดัชนีผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 ดัชนีการส่งสินค้าลดลงร้อยละ 5.5 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 16.4
2. การตลาด
โครงสร้างสินค้าส่งออก
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ 2545 2546 2547 2548 2549 %
(มค-ตค) (มค-ตค) การเปลี่ยนแปลง
รองเท้าและชิ้นส่วน 772 798.2 764.2 741.3 772.1 4.3
1.รองเท้ากีฬา 460.6 453.2 422.1 445 451.7 1.6
2.รองเท้าแตะ 73.1 82.7 88.2 73.6 62.4 -14.9
3.รองเท้าหนัง 144.7 182.8 189.9 163.1 194 19.2
4.รองเท้าอื่นๆ 58.2 65 49.5 47.7 52 9.2
5.ส่วนประกอบของรองเท้า 35.4 14.2 14.5 11.9 11.9 0
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 304.7 220.8 226.3 178.6 168.1 -5.8
1.กระเป๋าเดินทาง 190.3 108.5 106.1 70.7 62.3 -11.8
2.กระเป๋าถือ 40.1 39.7 39.9 33.9 32.6 -3.8
3.กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 18.5 17.7 17.5 18.3 17.2 -6
4.เครื่องเดินทางอื่นๆ 55.8 54.9 62.8 55.7 56 0.9
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 391.4 424.8 464.1 387.3 364.4 -5.9
1.หนังโคกระบือฟอก 61.2 60.9 67.1 112.8 125.4 11.2
2.ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 46.3 38.9 41.8 27.2 25.7 -5.5
3.ถุงมือหนัง 43.5 45.8 48 39.8 43.8 10.1
4.เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 4.2 3.4 4.7 3.6 3.6 0
5.หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ 236.1 275.7 302.5 203.9 165.9 -18.6
รวม 1,468.10 1,443.80 1,454.60 1,307.20 1304.6 -0.1
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
การส่งออก
การส่งออกสินค้ารองเท้าและเครื่องหนังในปี 2549 (ม.ค.-ต.ค.)มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.1
สินค้าที่มีอัตราการขยายตัวลดลง คือ เครื่องใช้สำหรับเดินทาง และหนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ขยายตัวลดลงร้อยละ 5.8 และ 5.9
รองเท้าและชิ้นส่วน ในปี 2549 มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 4.3 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น
คือ รองเท้าหนัง รองเท้าอื่น ๆ และรองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.2 9.2 และ 1.6 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวลดลง คือ รองเท้าแตะ ลดลงร้อย
ละ 14.9 ตลาดส่งออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นได้แก่ เนเธอร์แลนด์ จีน และฝรั่งเศส ขยายตัวร้อยละ 45.0 36.6 และ 23.7
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง ในปี 2549 มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.8 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวลดลง คือ
กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และกระเป๋าถือลดลงร้อยละ 11.8 6.0 และ 3.8 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ เครื่องเดินทาง
อื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ตลาดส่งออกที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฮ่องกง ฝรั่งเศส และ สเปน ขยายตัวร้อยละ 52.0 31.4
และ 25.0
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.9 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวลดลง คือ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง ลดลงร้อยละ 18.6 และ 5.5 ผลิตภัณฑ์ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก และ
ถุงมือหนังขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 และ 10.1 ตลาดส่งออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน และ สหรัฐอเมริกา ขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ
52.7 และ 3.7
โครงสร้างสินค้านำเข้า
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ 2545 2546 2547 2548 2549 %
(มค-ตค) (มค-ตค) การเปลี่ยนแปลง
หนังดิบและหนังฟอก 403.6 470.2 471.7 423.3 391.5 -7.5
รองเท้า 49.6 62.8 69.4 61 90 47.5
1. รองเท้ากีฬา 7.6 10 10.8 11.7 15.3 30.8
2. รองเท้าหนัง 8.9 10.1 14.5 14.3 14.8 3.5
3. รองเท้ายางหรือพลาสติก 1.8 2 3.5 4 4.2 5
4. รองเท้าอื่น ๆ 31.2 40.7 40.5 31 55.8 80
กระเป๋า 31 35.8 51.8 53.2 65.7 23.5
1. กระเป๋าเดินทาง 8.1 9.4 15.3 15.4 18.9 22.7
2. กระเป๋าถือและกระเป๋าอื่น ๆ 22.9 26.4 36.4 37.8 46.8 23.8
รวม 484.2 568.8 592.9 537.5 547.2 1.8
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอกในปี 2549 (ม.ค.-ต.ค.) มีอัตราการขยายตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.5 ตลาดสำคัญที่มีการ
ขยายตัวลดลง คือ อาร์เจนตินา อุรุกวัย และสหรัฐอเมริกา ลดลงร้อยละ 33.8 28.1 และ 19.2 ตามลำดับ
รองเท้ามีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.5 เพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มสินค้า คือ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้ากีฬา รองเท้ายางหรือ
พลาสติก รองเท้าหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 80.0 30.8 5.0 และ 3.5 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ อินเดีย
อินโดนีเซีย และจีน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3,100 111.8 และ 68.7 ตามลำดับ
กระเป๋ามีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.5 สินค้าที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือและกระเป๋าอื่น ๆ และกระเป๋าเดินทาง เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 23.8 และ 22.7 ตลาดสำคัญที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น คือ สิงคโปร์ จีน และเบลเยี่ยม เพิ่มขึ้นร้อยละ 75.0 40.1 และ 35.0
ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
ในปี 2549 สภาวการณ์ การผลิตเมื่อเทียบกับปีก่อนลดลงใน 2 กลุ่มผลิตภัณฑ์ คือ ดัชนีผลผลิตหนังฟอกและตกแต่งหนังฟอก และดัชนีผล
ผลิตกระเป๋าฯ ลดลงร้อยละ 9.1 และ 8.5 เนื่องจากการส่งออกลดลง ร้อยละ 5.9 และ 5.8 โดยเฉพาะกระเป๋ามีการนำเข้าจากต่าง
ประเทศมาแย่งส่วนแบ่งตลาดภายในและมีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังที่เพิ่มสูงมาก ดัชนีการผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้น เนื่องจากดัชนีการส่งสินค้า และการส่ง
ออกที่เพิ่มขึ้น
สำหรับในปี 2550 คาดว่าการผลิตหนังฟอกและตกแต่งหนังฟอก กระเป๋าฯและรองเท้าจะมีแนวโน้มที่ลดลง เนื่องจากการค้าเสรีที่การ
แข่งขันสูงที่รุนแรงจากคู่แข่งที่มีอัตราค่าจ้างแรงงานที่ต่ำกว่า โดยเฉพาะ จีน และเวียดนาม ความผันผวนจากราคาน้ำมัน และตลาดส่งออกหลักของ
ไทยมีภาวะเศรษฐกิจซบเซา อีกทั้งอัตราค่าเงินบาทที่แข็งตัวสูงขึ้นในช่วงปลายปี 2549 ส่วนการนำเข้าคาดว่าจะขยายตัวในทุกกลุ่มสินค้าโดยเฉพาะ
มีปัจจัยเสริมจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น และแนวโน้มของการเปิดเสรีทางการค้าแบบทวิภาคีที่มุ่งปรับลดอัตราภาษีนำเข้า
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-