ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 73.08 บาท/กิโลกรัม
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายอุทัย สอนหลักทรัพย์ ประธานสภายางพาราแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่าขณะนี้กลุ่มเกษตรกรประมาณ 3 หมื่นราย ทั้งภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ยังไม่ได้รับพันธุ์ยาง แสดงความกังวลใจเกี่ยวกับกล้ายางที่จะได้รับ ภายหลังจากที่กระทรวงเกษตรกรและสหกรณ์ยกเลิกสัญญากับบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ และกำหนดให้เกษตรกรใช้คูปองขอรับกล้ายางตามโรงเรือนหลายแห่งที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมวิชาการเกษตรซึ่งไม่แน่ใจว่าจะมีมาตรฐานเพียงพอเหมือนกับที่กรมวิชาการเกษตรใช้ตรวจสอบกับผู้ผลิตรายเดิม กลุ่มเกษตรกรต่างทราบกันดีว่า คุณสมบัติที่กรมวิชาการเกษตรกำหนดนั้นมีมาก เป็นคุณสมบัติที่สูงกว่ามาตรฐานทั่วไป ดังนั้นถ้าจะให้เกษตรกรรับกล้ายางจากโรงเรือนอื่นขอให้ภาครัฐช่วยตรวจสอบคุณภาพกล้ายางให้มีมาตรฐานเดียวกันกับของผู้ผลิตเดิมด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.11 บาท สูงขึ้นจาก 73.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือร้อยละ 0.013
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.61 บาท สูงขึ้นจาก 72.60 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือร้อยละ 0.013
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.11 บาท สูงขึ้นจาก 72.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือร้อยละ 0.014
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.22 บาท ลดลงจาก 71.30 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.08 บาท หรือร้อยละ 0.11
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.36 บาท สูงขึ้นจาก 70.15 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 หรือร้อยละ 0.30
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.29 บาท ลดลงจาก 71.21 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.92 บาท หรือร้อยละ 1.29
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.25 บาท ลดลงจาก 36.21 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.96 บาท หรือร้อยละ 2.65
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.24 บาท ลดลงจาก 32.94 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.70 บาท หรือร้อยละ 2.13
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 69.50 บาท สูงขึ้นจาก 69.29 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท หรือร้อยละ 0.30
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนเมษายน 2550
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.08 บาท สูงขึ้นจาก 82.68 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.40 บาท หรือร้อยละ 0.48
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.93 บาท สูงขึ้นจาก 81.46 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.47 บาท หรือร้อยละ 0.58
3. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.75 บาท สูงขึ้นจาก 60.06 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.69 บาท หรือร้อยละ 1.15
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.83 บาท สูงขึ้นจาก 82.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.40 บาท หรือร้อยละ 0.48
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.68 บาท สูงขึ้นจาก 81.21 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.47 บาท หรือร้อยละ 0.58
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.50 บาท สูงขึ้นจาก 59.81 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.69 บาท หรือร้อยละ 1.15
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ปี 2549 สหรัฐอเมริกา นำเข้ายางพาราทั้งสิ้น 1.012 ล้านตัน ลดลงจาก 1.169 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 13.43 เนื่องจากสหรัฐฯมีการย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เป็นแหล่งผลิตยางมากขึ้น โดยนำเข้าจากอินโดนีเซีย 0.630 ล้านตัน ซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบที่สำคัญ แต่การนำเข้าจากอินโดนีเซียลดลงจาก 0.735 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 14.29 รองลงมานำเข้าจากไทย 0.205 ล้านตัน ลดลงจาก 0.240 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 14.58 สหรัฐฯนำเข้ายางพาราจากไทยมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากราคายางของไทยสูงเมื่อเทียบกับอินโดนีเซีย นอกจากนี้สหรัฐฯยังนำเข้ายางพาราจากมาเลเซีย 0.077 ล้านตัน ลดลงจาก 0.084 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 8.33
ปริมาณการนำเข้า (ล้านตัน)
ประเทศ 2547 2548 2549
อินโดนีเซีย 0.68 0.735 0.63
ไทย 0.288 0.24 0.205
มาเลเซีย 0.082 0.084 0.077
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนเมษายน 2550
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 353.10 เซนต์สิงคโปร์(81.24 บาท) สูงขึ้นจาก 350.92 เซนต์สิงคโปร์(80.89 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.18 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.62
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 226.25 เซนต์สหรัฐ (79.93 บาท) สูงขึ้นจาก 224.25 เซนต์สหรัฐ (79.59 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.00 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 0.89
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 269.08 เยน(79.20 บาท) ลดลงจาก 271.40 เยน (79.89 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.32 เยน หรือร้อยละ 0.85
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 26 กุมภาพันธ์ - 4 มีนาคม 2550--
-พห-
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายอุทัย สอนหลักทรัพย์ ประธานสภายางพาราแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่าขณะนี้กลุ่มเกษตรกรประมาณ 3 หมื่นราย ทั้งภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ยังไม่ได้รับพันธุ์ยาง แสดงความกังวลใจเกี่ยวกับกล้ายางที่จะได้รับ ภายหลังจากที่กระทรวงเกษตรกรและสหกรณ์ยกเลิกสัญญากับบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ และกำหนดให้เกษตรกรใช้คูปองขอรับกล้ายางตามโรงเรือนหลายแห่งที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมวิชาการเกษตรซึ่งไม่แน่ใจว่าจะมีมาตรฐานเพียงพอเหมือนกับที่กรมวิชาการเกษตรใช้ตรวจสอบกับผู้ผลิตรายเดิม กลุ่มเกษตรกรต่างทราบกันดีว่า คุณสมบัติที่กรมวิชาการเกษตรกำหนดนั้นมีมาก เป็นคุณสมบัติที่สูงกว่ามาตรฐานทั่วไป ดังนั้นถ้าจะให้เกษตรกรรับกล้ายางจากโรงเรือนอื่นขอให้ภาครัฐช่วยตรวจสอบคุณภาพกล้ายางให้มีมาตรฐานเดียวกันกับของผู้ผลิตเดิมด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.11 บาท สูงขึ้นจาก 73.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือร้อยละ 0.013
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.61 บาท สูงขึ้นจาก 72.60 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือร้อยละ 0.013
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.11 บาท สูงขึ้นจาก 72.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.01 บาท หรือร้อยละ 0.014
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.22 บาท ลดลงจาก 71.30 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.08 บาท หรือร้อยละ 0.11
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.36 บาท สูงขึ้นจาก 70.15 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 หรือร้อยละ 0.30
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.29 บาท ลดลงจาก 71.21 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.92 บาท หรือร้อยละ 1.29
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.25 บาท ลดลงจาก 36.21 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.96 บาท หรือร้อยละ 2.65
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.24 บาท ลดลงจาก 32.94 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.70 บาท หรือร้อยละ 2.13
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 69.50 บาท สูงขึ้นจาก 69.29 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท หรือร้อยละ 0.30
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนเมษายน 2550
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.08 บาท สูงขึ้นจาก 82.68 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.40 บาท หรือร้อยละ 0.48
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.93 บาท สูงขึ้นจาก 81.46 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.47 บาท หรือร้อยละ 0.58
3. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.75 บาท สูงขึ้นจาก 60.06 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.69 บาท หรือร้อยละ 1.15
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.83 บาท สูงขึ้นจาก 82.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.40 บาท หรือร้อยละ 0.48
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.68 บาท สูงขึ้นจาก 81.21 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.47 บาท หรือร้อยละ 0.58
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.50 บาท สูงขึ้นจาก 59.81 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.69 บาท หรือร้อยละ 1.15
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ปี 2549 สหรัฐอเมริกา นำเข้ายางพาราทั้งสิ้น 1.012 ล้านตัน ลดลงจาก 1.169 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 13.43 เนื่องจากสหรัฐฯมีการย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เป็นแหล่งผลิตยางมากขึ้น โดยนำเข้าจากอินโดนีเซีย 0.630 ล้านตัน ซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบที่สำคัญ แต่การนำเข้าจากอินโดนีเซียลดลงจาก 0.735 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 14.29 รองลงมานำเข้าจากไทย 0.205 ล้านตัน ลดลงจาก 0.240 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 14.58 สหรัฐฯนำเข้ายางพาราจากไทยมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากราคายางของไทยสูงเมื่อเทียบกับอินโดนีเซีย นอกจากนี้สหรัฐฯยังนำเข้ายางพาราจากมาเลเซีย 0.077 ล้านตัน ลดลงจาก 0.084 ล้านตัน ของปี 2548 ร้อยละ 8.33
ปริมาณการนำเข้า (ล้านตัน)
ประเทศ 2547 2548 2549
อินโดนีเซีย 0.68 0.735 0.63
ไทย 0.288 0.24 0.205
มาเลเซีย 0.082 0.084 0.077
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนเมษายน 2550
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 353.10 เซนต์สิงคโปร์(81.24 บาท) สูงขึ้นจาก 350.92 เซนต์สิงคโปร์(80.89 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.18 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.62
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 226.25 เซนต์สหรัฐ (79.93 บาท) สูงขึ้นจาก 224.25 เซนต์สหรัฐ (79.59 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.00 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 0.89
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 269.08 เยน(79.20 บาท) ลดลงจาก 271.40 เยน (79.89 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.32 เยน หรือร้อยละ 0.85
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 26 กุมภาพันธ์ - 4 มีนาคม 2550--
-พห-