แท็ก
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สุขภัณฑ์กะรัต
การนำเข้า
มกอช.
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาไม่มีรายงานราคาจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ออสซี่ประกาศมาตรการนำเข้ากุ้งชั่วคราวฉบับใหม่
นายสรพล เถระพัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ(มกอช.) เปิดเผยว่า จากการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ มกอช. ได้ติดตามเจรจาพร้อมให้ข้อคิดเห็นเรื่องมาตรการวิเคราะห์ความเสี่ยงการนำเข้ากุ้งหรือ(IRA)ของออสเตรเลีย เพื่อแก้ไขปัญหาทางการค้าอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดเมื่อวันที่ 24ก.ค. 2550 ออสเตรเลียได้ออกประกาศมาตรการนำเข้ากุ้งชั่วคราวฉบับปรับปรุงใหม่(Revised Interim Measures) เพื่อใช้เป็นการชั่วคราวระหว่างรอมาตรการวิเคราะห์ความเสี่ยงฉบับสุดท้าย มาตรการนำเข้ากุ้งชั่วคราวฉบับปรับปรุงใหม่นี้ ออสเตรเลียได้กำหนดเงื่อนไขการนำเข้าว่า สินค้ากุ้งดิบต้องมาจากประเทศหรือเขตที่ปลอดโรค 4 โรค ได้แก่ โรคตัวแดงดวงขาว(WSSV) โรคไอเอชเอชเอ็นวีหรือโรคแคระแกร็น(IHHNV) โรคหัวเหลือง(YHV) และโรคทีเอส(TSV) หรือต้องผ่านกระบวนการแปรรูปขั้นสูง โดยตัดหัวและแกะเปลือกออก หรือเป็นกุ้งดิบที่ไม่ได้มาจากประเทศหรือเขตที่ปลอดโรคจะต้องแกะหัวและเปลือกออก จะต้องถูกตรวจสอบเมื่อสินค้าถึงออสเตรเลีย ตรวจสอบ 3 โรค ได้แก่ WSSV IHHNV และYHV กรณีสินค้ากุ้งสด ต้องผ่านการปรุงสุกจากโรงงานที่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงานที่รับผิดชอบของประเทศผู้ส่งออก ส่วนของไทยมีกรมประมงเป็นผู้รับผิดชอบ ออสเตรเลียได้กำหนดให้ใช้อุณหภูมิมาตรฐานที่ 75 องศาเซลเซียส ระยะเวลาที่เหมาะสมกับขนาดกุ้ง โดยกุ้งขนาดเล็ก 66 ตัว 88 ตัว/กิโลกรัม ใช้ระยะเวลา 2 นาที กุ้งขนาดกลาง 44 ตัว 66 ตัว/กิโลกรัม ระยะเวลา 2.15 นาที และกุ้งขนาดใหญ่ 35 ตัว 44 ตัว/กิโลกรัม ใช้ระยะเวลา 3 นาที ทั้งนี้หน่วยงาน Biosecurity Australia ของออสเตรเลีย จะมีหนังสือแจ้งการออกมาตรการที่ปรับปรุงใหม่ ดังกล่าวไปยังประเทศผู้ส่งออกอย่างเป็นทางการ พร้อมกับแจ้งให้ผู้นำเข้าทราบด้วย ซึ่งคาดว่ามาตรการชั่วคราวนี้ จะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน 2550 อย่างไรก็ตาม ขณะนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มอบหมายให้ มกอช. และกรมประมง เร่งดำเนินการเจรจากับหน่วยงาน Biosecurity Australia ภายในต้นเดือนสิงหาคมนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อการส่งออกสินค้ากุ้งไทยไปยังออสเตรเลียทั้งในระยสั้นและระยะยาว
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.56 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 28.33 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.77 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ไม่มีรายงานราคาจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.83 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 54.56 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.73 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (51-60 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 135.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 142.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 7.00 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (51-60 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 89.31 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 91.83 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.52 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (60ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 87.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 90.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 3.00 บาท
2.5 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.10 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้ ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.61 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.01 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 21 — 27 ก.ค.2550) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.86 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 18.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.86 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 23-29 ก.ค. 2550--
-พห-
การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาไม่มีรายงานราคาจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ออสซี่ประกาศมาตรการนำเข้ากุ้งชั่วคราวฉบับใหม่
นายสรพล เถระพัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ(มกอช.) เปิดเผยว่า จากการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ มกอช. ได้ติดตามเจรจาพร้อมให้ข้อคิดเห็นเรื่องมาตรการวิเคราะห์ความเสี่ยงการนำเข้ากุ้งหรือ(IRA)ของออสเตรเลีย เพื่อแก้ไขปัญหาทางการค้าอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดเมื่อวันที่ 24ก.ค. 2550 ออสเตรเลียได้ออกประกาศมาตรการนำเข้ากุ้งชั่วคราวฉบับปรับปรุงใหม่(Revised Interim Measures) เพื่อใช้เป็นการชั่วคราวระหว่างรอมาตรการวิเคราะห์ความเสี่ยงฉบับสุดท้าย มาตรการนำเข้ากุ้งชั่วคราวฉบับปรับปรุงใหม่นี้ ออสเตรเลียได้กำหนดเงื่อนไขการนำเข้าว่า สินค้ากุ้งดิบต้องมาจากประเทศหรือเขตที่ปลอดโรค 4 โรค ได้แก่ โรคตัวแดงดวงขาว(WSSV) โรคไอเอชเอชเอ็นวีหรือโรคแคระแกร็น(IHHNV) โรคหัวเหลือง(YHV) และโรคทีเอส(TSV) หรือต้องผ่านกระบวนการแปรรูปขั้นสูง โดยตัดหัวและแกะเปลือกออก หรือเป็นกุ้งดิบที่ไม่ได้มาจากประเทศหรือเขตที่ปลอดโรคจะต้องแกะหัวและเปลือกออก จะต้องถูกตรวจสอบเมื่อสินค้าถึงออสเตรเลีย ตรวจสอบ 3 โรค ได้แก่ WSSV IHHNV และYHV กรณีสินค้ากุ้งสด ต้องผ่านการปรุงสุกจากโรงงานที่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงานที่รับผิดชอบของประเทศผู้ส่งออก ส่วนของไทยมีกรมประมงเป็นผู้รับผิดชอบ ออสเตรเลียได้กำหนดให้ใช้อุณหภูมิมาตรฐานที่ 75 องศาเซลเซียส ระยะเวลาที่เหมาะสมกับขนาดกุ้ง โดยกุ้งขนาดเล็ก 66 ตัว 88 ตัว/กิโลกรัม ใช้ระยะเวลา 2 นาที กุ้งขนาดกลาง 44 ตัว 66 ตัว/กิโลกรัม ระยะเวลา 2.15 นาที และกุ้งขนาดใหญ่ 35 ตัว 44 ตัว/กิโลกรัม ใช้ระยะเวลา 3 นาที ทั้งนี้หน่วยงาน Biosecurity Australia ของออสเตรเลีย จะมีหนังสือแจ้งการออกมาตรการที่ปรับปรุงใหม่ ดังกล่าวไปยังประเทศผู้ส่งออกอย่างเป็นทางการ พร้อมกับแจ้งให้ผู้นำเข้าทราบด้วย ซึ่งคาดว่ามาตรการชั่วคราวนี้ จะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน 2550 อย่างไรก็ตาม ขณะนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มอบหมายให้ มกอช. และกรมประมง เร่งดำเนินการเจรจากับหน่วยงาน Biosecurity Australia ภายในต้นเดือนสิงหาคมนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อการส่งออกสินค้ากุ้งไทยไปยังออสเตรเลียทั้งในระยสั้นและระยะยาว
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.56 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 28.33 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.77 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ ไม่มีรายงานราคาจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.83 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 54.56 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.73 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (51-60 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 135.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 142.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 7.00 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาดกลาง (51-60 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 89.31 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 91.83 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 2.52 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาครขนาดกลาง (60ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 87.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 90.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 3.00 บาท
2.5 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.10 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้ ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.61 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.01 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 21 — 27 ก.ค.2550) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.86 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 18.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.86 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 23-29 ก.ค. 2550--
-พห-