ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 65.28 บาท/กิโลกรัม
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายสุขุม วงษ์เอก ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร กล่าวว่าองค์การยางระหว่างประเทศ (International
Rubber Study Group : IRSG) คาดการณ์ว่าภายในปี 2553 การใช้ยางธรรมชาติของโลกจะเพิ่มขึ้น 10.5 ล้านตัน ขณะที่การผลิตมี
ประมาณ 10.42 ล้านตัน และในปี 2550 คาดว่าไทยจะผลิตยางได้ 3.2 — 3.3 ล้านตัน โดยเพิ่มจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5
สำหรับราคายางพาราตลาดกลางหาดใหญ่สัปดาห์นี้ปรับตัวลดลงเล็กน้อย เนื่องจากผลผลิตในไทยเริ่มมากขึ้นเพราะภาวะอากาศเอื้อ
อำนวยต่อการกรีดยางและจำนวนสั่งซื้อยางจากต่างประเทศในแต่ละครั้งมีไม่มาก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 64.15 บาท ลดลงจาก 67.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.93
บาท หรือร้อยละ 4.37
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.65 บาท ลดลงจาก 66.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.93 บาท หรือร้อยละ 4.40
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.15 บาท ลดลงจาก 66.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.93
บาท หรือร้อยละ 4.43
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.41 บาท ลดลงจาก 65.57 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.16
บาท หรือร้อยละ 4.82
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 61.67 บาท ลดลงจาก 64.84 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
3.17 หรือร้อยละ 4.89
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 61.39 บาท ลดลงจาก 64.65 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.26 บาท
หรือร้อยละ 5.04
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.54 บาท ลดลงจาก 35.97 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.43 บาท
หรือร้อยละ 3.98
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.94 บาท ลดลงจาก 31.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.91 บาท หรือ
ร้อยละ 2.86
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.80 บาท ลดลงจาก 62.11 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.31 บาท
หรือร้อยละ 3.72
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกันยายน 2550
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.15 บาท ลดลงจาก 75.13 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.98
บาท หรือร้อยละ 2.64
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.25 บาท ลดลงจาก 73.98 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.73
บาท หรือร้อยละ 2.34
3. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท สูงขึ้นจาก 46.96 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือ
ร้อยละ 0.09
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.15 บาท ลดลงจาก 74.88 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.73 บาท
หรือร้อยละ 2.31
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.00 บาท ลดลงจาก 73.73 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.73 บาท
หรือร้อยละ 2.35
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.75 บาท สูงขึ้นจาก 46.71 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือร้อยละ
0.09
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ผลผลิตยางพาราในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 มาเลเซียผลิตได้ 589,379 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ
3.5 โดยเป็นผลผลิตจากเกษตรกรรายย่อยร้อยละ 94.3 ที่เหลืออีกร้อยละ 5.7 เป็นผลผลิตจากเกษตรรายใหญ่ สำหรับเดือนมิถุนายน
2550 มาเลเซียผลิตยางพาราได้ 97,717 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้วร้อยละ 9.3
การส่งออกยางพาราในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 มาเลเซียส่งออกได้ 483,789 ตัน ประมาณร้อยละ 69.4 ของการส่งออกทั้ง
หมดเป็นการส่งออกไปจีน เยอรมัน สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ ฝรั่งเศส บราซิลและโปรตุเกส ปริมาณ 156,922 , 68,167 , 29,107 ,
28,685 , 25,026 , 16,320 และ11,523 ตัน ตามลำดับ สำหรับในช่วงเดือนมิถุนายน ส่งออกจำนวน 81,069 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่
แล้วร้อยละ 11.2 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7 โดยเป็นการส่งออกน้ำยางข้นประมาณร้อยละ 94.4
ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 มาเลเซียนำเข้ายางจากไทยมากที่สุดร้อยละ 78.80 รองลงมาคือเวียดนาม ฟิลิปปินส์
พม่า อินโดนีเซีย ร้อยละ 5.7 , 5.2 , 4.3 และ 3.9 ตามลำดับ สำหรับเดือนมิถุนายน นำเข้า 46,844 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่
แล้วร้อยละ 0.6 และในช่วง 6 เดือนแรกของปีนี้ มาเลเซียใช้ยางพาราผลิตถุงมือยางร้อยละ 65.20 ผลิตยางยืดร้อยละ 12.6 และผลิต
ยางล้อ ร้อยละ 11.6 สำหรับเดือนมิถุนายนมาเลเซียใช้ยาง 35,057 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้วร้อยละ 2.50
ตารางการส่งออกและการนำเข้ายางของมาเลเซีย
การส่งออก การนำเข้า
ประเทศ ร้อยละ ประเทศ ร้อยละ
ประเทศ ร้อยละ ประเทศ ร้อยละ
จีน 32.44 ไทย 78.8
เยอรมัน 14.09 เวียดนาม 5.7
สหรัฐอเมริกา 6.02 ฟิลิปปินส์ 5.2
เกาหลีใต้ 5.93 พม่า 4.3
ฝรั่งเศส 5.17 อินโดนีเซีย 3.9
บราซิล 3.37 อื่นๆ 2.1
โปรตุเกส 2.38
อื่นๆ 30.6
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกันยายน 2550
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 324.25 เซนต์สิงคโปร์ (71.67 บาท) ลดลงจาก 332.38 เซนต์สิงคโปร์
(73.59 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.13 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.45
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์เฉลี่ยกิโลกรัมละ 209.81 เซนต์สหรัฐ ( 71.28 บาท) ลดลงจาก 217.13 เซนต์สหรัฐ
(73.16 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.32 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 3.37
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 255.20 เยน ( 73.70 บาท) ลดลงจาก 261.54 เยน (73.95 บาท) ใน
สัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.34 เยน หรือร้อยละ 2.42
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 13 - 19 สิงหาคม 2550--
-พห-
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายสุขุม วงษ์เอก ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร กล่าวว่าองค์การยางระหว่างประเทศ (International
Rubber Study Group : IRSG) คาดการณ์ว่าภายในปี 2553 การใช้ยางธรรมชาติของโลกจะเพิ่มขึ้น 10.5 ล้านตัน ขณะที่การผลิตมี
ประมาณ 10.42 ล้านตัน และในปี 2550 คาดว่าไทยจะผลิตยางได้ 3.2 — 3.3 ล้านตัน โดยเพิ่มจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5
สำหรับราคายางพาราตลาดกลางหาดใหญ่สัปดาห์นี้ปรับตัวลดลงเล็กน้อย เนื่องจากผลผลิตในไทยเริ่มมากขึ้นเพราะภาวะอากาศเอื้อ
อำนวยต่อการกรีดยางและจำนวนสั่งซื้อยางจากต่างประเทศในแต่ละครั้งมีไม่มาก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 64.15 บาท ลดลงจาก 67.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.93
บาท หรือร้อยละ 4.37
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.65 บาท ลดลงจาก 66.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
2.93 บาท หรือร้อยละ 4.40
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.15 บาท ลดลงจาก 66.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.93
บาท หรือร้อยละ 4.43
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.41 บาท ลดลงจาก 65.57 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.16
บาท หรือร้อยละ 4.82
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 61.67 บาท ลดลงจาก 64.84 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ
3.17 หรือร้อยละ 4.89
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 61.39 บาท ลดลงจาก 64.65 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.26 บาท
หรือร้อยละ 5.04
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.54 บาท ลดลงจาก 35.97 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.43 บาท
หรือร้อยละ 3.98
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.94 บาท ลดลงจาก 31.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.91 บาท หรือ
ร้อยละ 2.86
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.80 บาท ลดลงจาก 62.11 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.31 บาท
หรือร้อยละ 3.72
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกันยายน 2550
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.15 บาท ลดลงจาก 75.13 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.98
บาท หรือร้อยละ 2.64
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.25 บาท ลดลงจาก 73.98 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.73
บาท หรือร้อยละ 2.34
3. น้ำยางข้น ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท สูงขึ้นจาก 46.96 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือ
ร้อยละ 0.09
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 73.15 บาท ลดลงจาก 74.88 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.73 บาท
หรือร้อยละ 2.31
2. ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.00 บาท ลดลงจาก 73.73 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.73 บาท
หรือร้อยละ 2.35
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.75 บาท สูงขึ้นจาก 46.71 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือร้อยละ
0.09
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ผลผลิตยางพาราในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 มาเลเซียผลิตได้ 589,379 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ
3.5 โดยเป็นผลผลิตจากเกษตรกรรายย่อยร้อยละ 94.3 ที่เหลืออีกร้อยละ 5.7 เป็นผลผลิตจากเกษตรรายใหญ่ สำหรับเดือนมิถุนายน
2550 มาเลเซียผลิตยางพาราได้ 97,717 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้วร้อยละ 9.3
การส่งออกยางพาราในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 มาเลเซียส่งออกได้ 483,789 ตัน ประมาณร้อยละ 69.4 ของการส่งออกทั้ง
หมดเป็นการส่งออกไปจีน เยอรมัน สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ ฝรั่งเศส บราซิลและโปรตุเกส ปริมาณ 156,922 , 68,167 , 29,107 ,
28,685 , 25,026 , 16,320 และ11,523 ตัน ตามลำดับ สำหรับในช่วงเดือนมิถุนายน ส่งออกจำนวน 81,069 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่
แล้วร้อยละ 11.2 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7 โดยเป็นการส่งออกน้ำยางข้นประมาณร้อยละ 94.4
ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2550 มาเลเซียนำเข้ายางจากไทยมากที่สุดร้อยละ 78.80 รองลงมาคือเวียดนาม ฟิลิปปินส์
พม่า อินโดนีเซีย ร้อยละ 5.7 , 5.2 , 4.3 และ 3.9 ตามลำดับ สำหรับเดือนมิถุนายน นำเข้า 46,844 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่
แล้วร้อยละ 0.6 และในช่วง 6 เดือนแรกของปีนี้ มาเลเซียใช้ยางพาราผลิตถุงมือยางร้อยละ 65.20 ผลิตยางยืดร้อยละ 12.6 และผลิต
ยางล้อ ร้อยละ 11.6 สำหรับเดือนมิถุนายนมาเลเซียใช้ยาง 35,057 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้วร้อยละ 2.50
ตารางการส่งออกและการนำเข้ายางของมาเลเซีย
การส่งออก การนำเข้า
ประเทศ ร้อยละ ประเทศ ร้อยละ
ประเทศ ร้อยละ ประเทศ ร้อยละ
จีน 32.44 ไทย 78.8
เยอรมัน 14.09 เวียดนาม 5.7
สหรัฐอเมริกา 6.02 ฟิลิปปินส์ 5.2
เกาหลีใต้ 5.93 พม่า 4.3
ฝรั่งเศส 5.17 อินโดนีเซีย 3.9
บราซิล 3.37 อื่นๆ 2.1
โปรตุเกส 2.38
อื่นๆ 30.6
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกันยายน 2550
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 324.25 เซนต์สิงคโปร์ (71.67 บาท) ลดลงจาก 332.38 เซนต์สิงคโปร์
(73.59 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.13 เซนสิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.45
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดสิงคโปร์เฉลี่ยกิโลกรัมละ 209.81 เซนต์สหรัฐ ( 71.28 บาท) ลดลงจาก 217.13 เซนต์สหรัฐ
(73.16 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.32 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 3.37
ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดโตเกียว เฉลี่ยกิโลกรัมละ 255.20 เยน ( 73.70 บาท) ลดลงจาก 261.54 เยน (73.95 บาท) ใน
สัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.34 เยน หรือร้อยละ 2.42
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 13 - 19 สิงหาคม 2550--
-พห-