1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 2.95 บาท ลดลงจาก กก.ละ 3.10 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.84
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 20.21 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 19.44 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.96
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
อินเดียอาจลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มจากอินโดนีเซีย
อินเดียอาจจะต้องลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย และหันไปนำเข้าน้ำมันพืชอื่นๆ หากอินโดนีเซียใช้นโยบายการส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธ์เป็นหลักตามมาเลเซีย ทั้งนี้เนื่องจากในแต่ละปีอินโดนีเซียต้องนำเข้าน้ำมันพืชเพิ่มขึ้นถึงปีละ 500,000 ตัน เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคและประชากรที่เพิ่มขึ้นประมาณปีละ 18 ล้านคน สำหรับอินเดียนั้นมีความต้องการบริโภคน้ำมันพืชปีละ 12 ล้านตัน ในจำนวนดังกล่าวเป็นน้ำมันปาล์มประมาณ 3 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 25 ของน้ำมันพืชทั้งหมด ที่ผ่านมาอินเดียต้องพึ่งพาน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย ตั้งแต่อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ จนถึงการสกัดน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์เพื่อการบริโภค อย่างไรก็ตาม อินโดนีเซียมีนโยบายที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั้งระบบ และหวังว่าในอนาคตจะเป็นผู้นำในการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ จึงต้องลดบทบาทและจำกัดการส่งออกน้ำมันดังกล่าว โดยหันมาส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์แทน เช่นเดียวกับมาเลเซีย
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 2,095.88 ดอลลาร์มาเลเซีย (21.71 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 2,023.72 ดอลลาร์มาเลเซีย (20.92 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 3.57
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 655.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (23.00 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 627.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (22.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 4.47
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
ข่าววิทยุ 2-8 เม.ย. 2550
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.95 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.15 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 20.21 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.77 บาท
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
อินเดียอาจลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มจากอินโดนีเซีย
อินเดียอาจจะต้องลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย และหันไปนำเข้าน้ำมันพืชอื่นๆ หากอินโดนีเซียใช้นโยบายการส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธ์เป็นหลักตามมาเลเซีย ทั้งนี้เนื่องจากในแต่ละปีอินโดนีเซียต้องนำเข้าน้ำมันพืชเพิ่มขึ้นถึงปีละ 500,000 ตัน เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคและประชากรที่เพิ่มขึ้นประมาณปีละ 18 ล้านคน สำหรับอินเดียนั้นมีความต้องการบริโภคน้ำมันพืชปีละ 12 ล้านตัน ในจำนวนดังกล่าวเป็นน้ำมันปาล์มประมาณ 3 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 25 ของน้ำมันพืชทั้งหมด ที่ผ่านมาอินเดียต้องพึ่งพาน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย ตั้งแต่อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ จนถึงการสกัดน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์เพื่อการบริโภค อย่างไรก็ตาม อินโดนีเซียมีนโยบายที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั้งระบบ และหวังว่าในอนาคตจะเป็นผู้นำในการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ จึงต้องลดบทบาทและจำกัดการส่งออกน้ำมันดังกล่าว โดยหันมาส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์แทน เช่นเดียวกับมาเลเซีย
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 2,095.88 ดอลลาร์มาเลเซีย หรือ กก.ละ 21.71 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อนตันละ 72.16 ดอลลาร์มาเลเซีย หรือ กก.ละ 0.79 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 2-8 เมษายน 2550--
-พห-
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 2.95 บาท ลดลงจาก กก.ละ 3.10 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.84
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 20.21 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 19.44 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.96
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
อินเดียอาจลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มจากอินโดนีเซีย
อินเดียอาจจะต้องลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย และหันไปนำเข้าน้ำมันพืชอื่นๆ หากอินโดนีเซียใช้นโยบายการส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธ์เป็นหลักตามมาเลเซีย ทั้งนี้เนื่องจากในแต่ละปีอินโดนีเซียต้องนำเข้าน้ำมันพืชเพิ่มขึ้นถึงปีละ 500,000 ตัน เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคและประชากรที่เพิ่มขึ้นประมาณปีละ 18 ล้านคน สำหรับอินเดียนั้นมีความต้องการบริโภคน้ำมันพืชปีละ 12 ล้านตัน ในจำนวนดังกล่าวเป็นน้ำมันปาล์มประมาณ 3 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 25 ของน้ำมันพืชทั้งหมด ที่ผ่านมาอินเดียต้องพึ่งพาน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย ตั้งแต่อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ จนถึงการสกัดน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์เพื่อการบริโภค อย่างไรก็ตาม อินโดนีเซียมีนโยบายที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั้งระบบ และหวังว่าในอนาคตจะเป็นผู้นำในการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ จึงต้องลดบทบาทและจำกัดการส่งออกน้ำมันดังกล่าว โดยหันมาส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์แทน เช่นเดียวกับมาเลเซีย
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 2,095.88 ดอลลาร์มาเลเซีย (21.71 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 2,023.72 ดอลลาร์มาเลเซีย (20.92 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 3.57
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 655.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (23.00 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 627.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (22.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 4.47
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
ข่าววิทยุ 2-8 เม.ย. 2550
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.95 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.15 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 20.21 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.77 บาท
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
อินเดียอาจลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มจากอินโดนีเซีย
อินเดียอาจจะต้องลดการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย และหันไปนำเข้าน้ำมันพืชอื่นๆ หากอินโดนีเซียใช้นโยบายการส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธ์เป็นหลักตามมาเลเซีย ทั้งนี้เนื่องจากในแต่ละปีอินโดนีเซียต้องนำเข้าน้ำมันพืชเพิ่มขึ้นถึงปีละ 500,000 ตัน เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคและประชากรที่เพิ่มขึ้นประมาณปีละ 18 ล้านคน สำหรับอินเดียนั้นมีความต้องการบริโภคน้ำมันพืชปีละ 12 ล้านตัน ในจำนวนดังกล่าวเป็นน้ำมันปาล์มประมาณ 3 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 25 ของน้ำมันพืชทั้งหมด ที่ผ่านมาอินเดียต้องพึ่งพาน้ำมันปาล์มดิบจากอินโดนีเซีย ตั้งแต่อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ จนถึงการสกัดน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์เพื่อการบริโภค อย่างไรก็ตาม อินโดนีเซียมีนโยบายที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั้งระบบ และหวังว่าในอนาคตจะเป็นผู้นำในการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ จึงต้องลดบทบาทและจำกัดการส่งออกน้ำมันดังกล่าว โดยหันมาส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์แทน เช่นเดียวกับมาเลเซีย
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 2,095.88 ดอลลาร์มาเลเซีย หรือ กก.ละ 21.71 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อนตันละ 72.16 ดอลลาร์มาเลเซีย หรือ กก.ละ 0.79 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 2-8 เมษายน 2550--
-พห-