แท็ก
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม
เครื่องใช้ไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิกส์
ภาวะเศรษฐกิจ
โรงแรมคอนราด
Printer (default) 39.21 58.06 -47.6
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
3.2 การตลาด
ภาวะตลาดของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 3 ปี2549 มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยจากรายงานดัชนีการส่งสินค้าอิเล็กทรอนิกส์
ของสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมพบว่าเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนภาวะตลาดของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.77 เนื่องจากไตรมาสที่
ผ่านมาได้ส่งสินค้าเพื่อป้อนตลาดส่งออกเป็นส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.09 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีการ
ปรับตัวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 23.27 โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวของ HDD, Other IC และSemiconductor devices Transisters ร้อยละ
27.78 25.86 และ 15.07 ตามลำดับ
เมื่อพิจารณามูลค่าการจำหน่าย Semiconductor ของตลาดโลกในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 จากการรายงานของ
Semiconductor Industry Association (SIA) พบว่ามีการขยายตัวเล็กน้อย โดยในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าการจำหน่าย
ประมาณ 64.11 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.04 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบว่ามี
การขยายตัวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 9.27 โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา(12.91%) และเอเชียแปซิฟิก(9.83%) ซึ่งเป็นผลจากความต้องการสินค้าในกลุ่ม
Notebook, Cell Phone, Digital Camera เป็นต้น ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและยังมีการนำ Semiconductor ไปใช้ในสินค้าอุปโภคบริโภค
(Consumer Products) มากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการใช้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยการคาดการณ์ของ SIA พบว่าในปี 2006
Worldwide Semiconductor Sales จะอยู่ประมาณที่ 240 $billion
ตารางที่ 7 แสดงดัชนีการส่งสินค้าอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทย ไตรมาสที่ 3ปี 2549
ดัชนีส่งสินค้า การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
ปี2549 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
ดัชนีการส่งสินค้าอิเล็กทรอทรอนิกส์ 319.71 17.77 23.27
Electric tubes Cathode For color TV 51.51 18.14 -21.91
Electric tubes Ray tubes For computer & related equipment 38.79 79.72 11.3
Semiconductor devices Transisters 128.51 13.42 15.07
Inegrated circuits (IC) 159.59 16.07 8.99
Monolithic integrated curcuits
Inegrated circuits (IC) 153.36 6.07 25.86
Other IC
Hard Disk Drive (default) 544.58 18.55 27.78
Printer (default) 39.44 55.2 -43.29
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ตารางที่ 8 Worldwide Semiconductor Sales ไตรมาสที่ 3ปี 2549
หน่วย : พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
ไตรมาส 3 การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ปี2549 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
Worldwide Semiconductor Sales 64.11 8.04 9.27
US 11.68 9.88 12.91
EU 10.24 8.12 3.73
Japan 12.15 7.12 9.42
Asia Pacific 30.04 7.68 9.83
ที่มา : Semiconductor Industry Association (SIA)
ตลาดส่งออก
จากสถิติการส่งออกซึ่งรวบรวมโดยสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์พบว่าสินค้า อิเล็กทรอนิกส์ ในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่า
258,010 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.09 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน โดยสินค้าที่มีการปรับเพิ่มขึ้นได้แก่ ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์
วงจรพิมพ์ (Printed Circuit) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.83 และ 9.35 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน โดยส่วนใหญ่ขยายตัวในตลาดสหรัฐ จีน และอียู
สำหรับการส่งออกเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.57 โดยสินค้าสำคัญที่ผลักดันให้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น
คือ ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ วงจรรวมและไมโครแอสแซมบลี (Integraed Circuit) เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 11.36 และ
13.82 ตามลำดับ โดยเฉพาะส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เติบโตในตลาดสหรัฐ (20%) และอียู (24%) ที่มีการขยายตัวสูงมากโดย
มาจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่สูง ขณะที่ไทยส่งออก IC ไปยังตลาดจีนเติบโตอย่างต่อเนื่องพบว่าในช่วงไตรมาส 3 มูลค่าส่งออกเติบโตถึงร้อยละ
34.71 อันเนื่องมาจากการนำชิ้นส่วนไปประกอบใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่จีนรับจ้างผลิตและประกอบเป็นส่วนใหญ่
ตารางที่ 9 แสดงมูลค่าส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรกของไทยไตรมาสที่ 3ปี 2549
รายการสินค้า มูลค่าการส่งออก การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
ปี2549(ล้านบาท) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์รวม 258,010 8.09 8.57
ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ 141,302 10.83 11.36
วงจรรวมและไมโครแอสแซมบลี (Integrated Circuit) 70,871 8.25 13.82
วงจรพิมพ์ (Printed Circuit) 10,319 9.35 -10.04
ไดโอด ทรานซิสเตอร์และอุปกรณ์กึ่งตัวนำ 8,985 -25.52 9.84
เครื่องส่ง-เครื่องรับวิทยุโทรเลข วิทยุโทรศัพท์ เครื่องเรดาห์ 8,098 -0.77 0.6
ที่มา: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ตลาดส่งออกที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 ได้แก่ ตลาดอียูมีมูลค่าส่งออก 41,456 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.17 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และ ร้อยละ 14.11 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้ตลาดอียูเป็นตลาดสำคัญที่มีสัดส่วน
การส่งออกอิเล็กทรอนิกส์สูงถึงร้อยละ 16.07 ของการส่งออกอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด
3.3 การนำเข้า
จากรายงานการนำเข้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 พบว่ามีมูลค่ารวม 204,195 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นเพียงร้อย
ละ 4.14 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน เป็นผลมาจากตลาดต่างๆที่มีขยายตัวเพิ่มขึ้นได้แก่ ตลาดอียู (18.48%) ญี่ปุ่น (15.52%) และจีน (6.38%) โดย
สินค้าสำคัญที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นมาก คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ครบชุด Notebook Palm และเครื่องอุปกรณ์ใช้สำหรับโทรศัพท์หรือโทรเลข อุปกรณ์
อื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.37 และ58.49 ตามลำดับ
การนำเข้าเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.92 โดยสินค้าที่มีการนำเข้ามากยังคงเป็นวงจรพิมพ์ (Printed
Circuit) ขยายตัวถึงร้อยละ 21.04 ซึ่งเป็นสินค้าที่มีการส่งออกลดลง ขณะที่มีการนำเข้าเพิ่มมากขึ้น โดยคาดว่ามีการลดการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ลง
และเปลี่ยนมาเป็นการนำเข้าแทนเพื่อนำไปประกอบเป็นสินค้าสำเร็จรูปแทนโดยนำเข้าจากจีน (41.19%) และญี่ปุ่น (37.35%) เพิ่มมากขึ้น
ตารางที่ 10 แสดงมูลค่านำเข้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรกของไทยไตรมาสที่ 3ปี2549
รายการสินค้า มูลค่าการนำเข้า การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
ปี2549 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
(ล้านบาท)
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์รวม 204,195 4.14 7.92
วงจรรวมและไมโครแอสแซมบลี 88,483 2.01 7.34
(Integrated Circuit)
ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ 57,339 6.39 10.67
Mobile Telephone 13,571 -13.17 -9.54
วงจรพิมพ์ (Printed Circuit) 9,888 1.28 21.04
ไดโอด ทรานซิสเตอร์และอุปกรณ์กึ่งตัวนำ 9,085 5.12 6.63
ที่มา: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
แนวโน้มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาส 4 ปี 2549
แนวโน้มของอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 คาดว่าน่าจะมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 3 ปี 2549 โดย
เฉพาะอย่างยิ่งสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในกลุ่มเครื่องรับโทรทัศน์และเครื่องเสียงที่ปกติจะผลิตและขายมากขึ้นในช่วงไตรมาส 4 ขณะที่สินค้าในกลุ่มเครื่อง
ปรับอากาศและตู้เย็นยังคงทรงตัว เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล และคาดว่าจะมีคำสั่งซื้อกลับเข้ามาในช่วงหน้าร้อนปีหน้า
ส่วนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในปี 2549 คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยดูแนวโน้มมูลค่าการจำหน่าย Semiconductor ทั่วโลก 240 พัน
ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมากกว่าร้อยละ 13 และตลาดสหรัฐอเมริกาประมาณร้อยละ 18 เนื่องจากความต้องการที่
ขยายตัวเพิ่มขึ้นในสินค้าโทรศัพท์มือถือ Notebook กล้องดิจิตอลและ MP3 เป็นต้น
นอกจากนี้ ปัจจัยทางด้านวัตถุดิบที่มีราคาสูงมาก เช่น ราคาของทองแดง เหล็ก และปัจจัยทางด้านแรงงาน/บุคลากรที่ขาดแคลน ซึ่งอาจ
จะส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์รวมถึงปัจจัยภายนอกต่างๆ ได้แก่ กฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมที่ประเทศต่างๆ มี
แนวโน้มบังคับใช้มากขึ้น เช่น ระเบียบ ROHs ของสหภาพยุโรป เป็นต้น
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
3.2 การตลาด
ภาวะตลาดของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 3 ปี2549 มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยจากรายงานดัชนีการส่งสินค้าอิเล็กทรอนิกส์
ของสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมพบว่าเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนภาวะตลาดของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.77 เนื่องจากไตรมาสที่
ผ่านมาได้ส่งสินค้าเพื่อป้อนตลาดส่งออกเป็นส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.09 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีการ
ปรับตัวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 23.27 โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวของ HDD, Other IC และSemiconductor devices Transisters ร้อยละ
27.78 25.86 และ 15.07 ตามลำดับ
เมื่อพิจารณามูลค่าการจำหน่าย Semiconductor ของตลาดโลกในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 จากการรายงานของ
Semiconductor Industry Association (SIA) พบว่ามีการขยายตัวเล็กน้อย โดยในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าการจำหน่าย
ประมาณ 64.11 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.04 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบว่ามี
การขยายตัวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 9.27 โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา(12.91%) และเอเชียแปซิฟิก(9.83%) ซึ่งเป็นผลจากความต้องการสินค้าในกลุ่ม
Notebook, Cell Phone, Digital Camera เป็นต้น ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและยังมีการนำ Semiconductor ไปใช้ในสินค้าอุปโภคบริโภค
(Consumer Products) มากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการใช้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยการคาดการณ์ของ SIA พบว่าในปี 2006
Worldwide Semiconductor Sales จะอยู่ประมาณที่ 240 $billion
ตารางที่ 7 แสดงดัชนีการส่งสินค้าอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทย ไตรมาสที่ 3ปี 2549
ดัชนีส่งสินค้า การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
ปี2549 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
ดัชนีการส่งสินค้าอิเล็กทรอทรอนิกส์ 319.71 17.77 23.27
Electric tubes Cathode For color TV 51.51 18.14 -21.91
Electric tubes Ray tubes For computer & related equipment 38.79 79.72 11.3
Semiconductor devices Transisters 128.51 13.42 15.07
Inegrated circuits (IC) 159.59 16.07 8.99
Monolithic integrated curcuits
Inegrated circuits (IC) 153.36 6.07 25.86
Other IC
Hard Disk Drive (default) 544.58 18.55 27.78
Printer (default) 39.44 55.2 -43.29
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ตารางที่ 8 Worldwide Semiconductor Sales ไตรมาสที่ 3ปี 2549
หน่วย : พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
ไตรมาส 3 การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ปี2549 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
Worldwide Semiconductor Sales 64.11 8.04 9.27
US 11.68 9.88 12.91
EU 10.24 8.12 3.73
Japan 12.15 7.12 9.42
Asia Pacific 30.04 7.68 9.83
ที่มา : Semiconductor Industry Association (SIA)
ตลาดส่งออก
จากสถิติการส่งออกซึ่งรวบรวมโดยสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์พบว่าสินค้า อิเล็กทรอนิกส์ ในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่า
258,010 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.09 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน โดยสินค้าที่มีการปรับเพิ่มขึ้นได้แก่ ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์
วงจรพิมพ์ (Printed Circuit) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.83 และ 9.35 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน โดยส่วนใหญ่ขยายตัวในตลาดสหรัฐ จีน และอียู
สำหรับการส่งออกเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.57 โดยสินค้าสำคัญที่ผลักดันให้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น
คือ ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ วงจรรวมและไมโครแอสแซมบลี (Integraed Circuit) เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 11.36 และ
13.82 ตามลำดับ โดยเฉพาะส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เติบโตในตลาดสหรัฐ (20%) และอียู (24%) ที่มีการขยายตัวสูงมากโดย
มาจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่สูง ขณะที่ไทยส่งออก IC ไปยังตลาดจีนเติบโตอย่างต่อเนื่องพบว่าในช่วงไตรมาส 3 มูลค่าส่งออกเติบโตถึงร้อยละ
34.71 อันเนื่องมาจากการนำชิ้นส่วนไปประกอบใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่จีนรับจ้างผลิตและประกอบเป็นส่วนใหญ่
ตารางที่ 9 แสดงมูลค่าส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรกของไทยไตรมาสที่ 3ปี 2549
รายการสินค้า มูลค่าการส่งออก การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
ปี2549(ล้านบาท) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์รวม 258,010 8.09 8.57
ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ 141,302 10.83 11.36
วงจรรวมและไมโครแอสแซมบลี (Integrated Circuit) 70,871 8.25 13.82
วงจรพิมพ์ (Printed Circuit) 10,319 9.35 -10.04
ไดโอด ทรานซิสเตอร์และอุปกรณ์กึ่งตัวนำ 8,985 -25.52 9.84
เครื่องส่ง-เครื่องรับวิทยุโทรเลข วิทยุโทรศัพท์ เครื่องเรดาห์ 8,098 -0.77 0.6
ที่มา: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ตลาดส่งออกที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 ได้แก่ ตลาดอียูมีมูลค่าส่งออก 41,456 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.17 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และ ร้อยละ 14.11 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้ตลาดอียูเป็นตลาดสำคัญที่มีสัดส่วน
การส่งออกอิเล็กทรอนิกส์สูงถึงร้อยละ 16.07 ของการส่งออกอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด
3.3 การนำเข้า
จากรายงานการนำเข้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 พบว่ามีมูลค่ารวม 204,195 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นเพียงร้อย
ละ 4.14 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน เป็นผลมาจากตลาดต่างๆที่มีขยายตัวเพิ่มขึ้นได้แก่ ตลาดอียู (18.48%) ญี่ปุ่น (15.52%) และจีน (6.38%) โดย
สินค้าสำคัญที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นมาก คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ครบชุด Notebook Palm และเครื่องอุปกรณ์ใช้สำหรับโทรศัพท์หรือโทรเลข อุปกรณ์
อื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.37 และ58.49 ตามลำดับ
การนำเข้าเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.92 โดยสินค้าที่มีการนำเข้ามากยังคงเป็นวงจรพิมพ์ (Printed
Circuit) ขยายตัวถึงร้อยละ 21.04 ซึ่งเป็นสินค้าที่มีการส่งออกลดลง ขณะที่มีการนำเข้าเพิ่มมากขึ้น โดยคาดว่ามีการลดการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ลง
และเปลี่ยนมาเป็นการนำเข้าแทนเพื่อนำไปประกอบเป็นสินค้าสำเร็จรูปแทนโดยนำเข้าจากจีน (41.19%) และญี่ปุ่น (37.35%) เพิ่มมากขึ้น
ตารางที่ 10 แสดงมูลค่านำเข้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรกของไทยไตรมาสที่ 3ปี2549
รายการสินค้า มูลค่าการนำเข้า การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 2 ปี 49 ไตรมาส 3 ปี 48
ปี2549 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
(ล้านบาท)
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์รวม 204,195 4.14 7.92
วงจรรวมและไมโครแอสแซมบลี 88,483 2.01 7.34
(Integrated Circuit)
ส่วนประกอบของอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ 57,339 6.39 10.67
Mobile Telephone 13,571 -13.17 -9.54
วงจรพิมพ์ (Printed Circuit) 9,888 1.28 21.04
ไดโอด ทรานซิสเตอร์และอุปกรณ์กึ่งตัวนำ 9,085 5.12 6.63
ที่มา: สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
แนวโน้มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาส 4 ปี 2549
แนวโน้มของอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 คาดว่าน่าจะมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 3 ปี 2549 โดย
เฉพาะอย่างยิ่งสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในกลุ่มเครื่องรับโทรทัศน์และเครื่องเสียงที่ปกติจะผลิตและขายมากขึ้นในช่วงไตรมาส 4 ขณะที่สินค้าในกลุ่มเครื่อง
ปรับอากาศและตู้เย็นยังคงทรงตัว เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล และคาดว่าจะมีคำสั่งซื้อกลับเข้ามาในช่วงหน้าร้อนปีหน้า
ส่วนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในปี 2549 คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยดูแนวโน้มมูลค่าการจำหน่าย Semiconductor ทั่วโลก 240 พัน
ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมากกว่าร้อยละ 13 และตลาดสหรัฐอเมริกาประมาณร้อยละ 18 เนื่องจากความต้องการที่
ขยายตัวเพิ่มขึ้นในสินค้าโทรศัพท์มือถือ Notebook กล้องดิจิตอลและ MP3 เป็นต้น
นอกจากนี้ ปัจจัยทางด้านวัตถุดิบที่มีราคาสูงมาก เช่น ราคาของทองแดง เหล็ก และปัจจัยทางด้านแรงงาน/บุคลากรที่ขาดแคลน ซึ่งอาจ
จะส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์รวมถึงปัจจัยภายนอกต่างๆ ได้แก่ กฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมที่ประเทศต่างๆ มี
แนวโน้มบังคับใช้มากขึ้น เช่น ระเบียบ ROHs ของสหภาพยุโรป เป็นต้น
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-