เส้นใยธรรมชาติแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
เส้นใยจากพืช เส้นใยจากสัตว์
1. ฝ้าย 1. ไหม
2. ป่าน 2. ขนสัตว์
3. มะพร้าว
4. ลินิน
5. ปอ
6. นุ่น
7. สับปะรด
8. กัญชง
9. กล้วย
10. ผักตบชวา
11. อื่นๆ
การใช้งานเส้นใยธรรมชาติ
อุตสาหกรรม
1. ผ้า/เสื้ผ้า
ใช้ ฝ้าย ลินิน ใยสับประรด ไหม ขนสัตว์
2. เชือก ถุง กระสอบ
ใช้ ป่าน ปอ
3. ที่นอน เบาะ
ใช้ นุ่น ใยมะพร้าว
4. โพลิเมอร์คอมโพสิท
ทำชิ้นส่วนรถยนต์ (ผนังด้านในประตู ช่องเก็บของท้ายรถ กล่องเก็บของในรถ ฉนวนเก็บเสียง)
ทำเฟอร์นิเจอร์ วัสดุก่อสร้าง
หัตถกรรม
1. ผ้า/เสื้อผ้า
ใช้ ไหม ฝ้าย ลินิน กัญชง ใยสับประรด
2. เฟอร์นิเจอร์
ใช้ ผักตบชวา หญ้าแฝก
3. กระเป๋าของใช้ในบ้าน ฯลฯ
ใช้ผักตบชวา อื่นๆ
การใช้งานโพลิเมอร์คอมโพสิทจากเส้นใยธรรมชาติ
ข้อดีของเส้นใยธรรมชาติ
1. เป็นทรัพยากรที่ไม่หมดสิ้น
2. ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
3. มีสมบัติที่ดีบางประการ
- น้ำหนักเบา
- ไม่เป็นพิษ
- เป็นฉนวนความร้อน / เสียงดี
- มีศักยภาพในการเสริมแรงวัสดุอื่น
- ย่อยสลายได้
ข้อเสียของเส้นใยธรรมชาติ
สำหรับการใช้งานอุตสาหกรรม
1. คุณภาพไม่คงที่
2. ราคาไม่คงที่
3. ไม่ทนความร้อน
4. ดูดความชื้น
5. ติดไฟง่าย
6. เสียหายง่ายระหว่างการผลิต
7. มีข้อจำกัดในการนำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่
สำหรับการใช้งานหัตถกรรม
1. ราคาไม่คงที่
2. ขึ้นราง่าย
3. คุณภาพไม่คงที่
ปัญหาการพัฒนาใช้ประโยชน์จากเส้นใยธรรมชาติในประเทศไทย
1. ไม่สามารถควบคุมการผลิตได้หรือทำได้ยาก
- การผลิตด้านการเกษตร ขาดการวางแผนอย่างมีระบบ
- เกษตรกรไม่มีข้อมูลด้านการตลาดสนับสนุน
2. พื้นที่ปลูกและปริมาณการผลิตลดลงเรื่อยๆ
- จะสามารผลิตได้เพียงพอกับความต้องการหรือไม่
3. หากพัฒนาเป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรม
- จะพบคู่แข่งจากวัสดุสังเคราะห์
การพัฒนาเส้นใยธรรมชาติ
1. มุ่งเน้นการผลิตในสินค้าที่มีความได้เปรียบเพิ่มประสิทะภาพและลดต้นทุนการผลิต
2. พัฒนาการตลาดในเชิงรุก
3. สร้างความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรม
4. ขยายการค้าในเขตเอเซียและในประเทศ
5. เตรียมพร้อมในเรื่องมาตราฐานสากล สิ่งแวดล้อม และสวัสดิการในโรงงาน
6. ผลิตสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
นโยบายสนับสนุนของภาครัฐ
1. ภาครัฐสนับสนุนให้มีการปลูกฝ้ายหรือพืชที่ให้เส้นใยมากขึ้น
2. มีการประกันราคาเพื่อความมั่นใจของเกษตรกร
3. กรณีฝ้ายให้โรงงานปั้นด้ายรับซื้อดอกฝ้ายในราคาประกันที่รัฐกำหนด
สอบถามรายละเอียดได้ที่ http://bchid.dip.go.th/distribute
distribute@dip.go.th
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-
เส้นใยจากพืช เส้นใยจากสัตว์
1. ฝ้าย 1. ไหม
2. ป่าน 2. ขนสัตว์
3. มะพร้าว
4. ลินิน
5. ปอ
6. นุ่น
7. สับปะรด
8. กัญชง
9. กล้วย
10. ผักตบชวา
11. อื่นๆ
การใช้งานเส้นใยธรรมชาติ
อุตสาหกรรม
1. ผ้า/เสื้ผ้า
ใช้ ฝ้าย ลินิน ใยสับประรด ไหม ขนสัตว์
2. เชือก ถุง กระสอบ
ใช้ ป่าน ปอ
3. ที่นอน เบาะ
ใช้ นุ่น ใยมะพร้าว
4. โพลิเมอร์คอมโพสิท
ทำชิ้นส่วนรถยนต์ (ผนังด้านในประตู ช่องเก็บของท้ายรถ กล่องเก็บของในรถ ฉนวนเก็บเสียง)
ทำเฟอร์นิเจอร์ วัสดุก่อสร้าง
หัตถกรรม
1. ผ้า/เสื้อผ้า
ใช้ ไหม ฝ้าย ลินิน กัญชง ใยสับประรด
2. เฟอร์นิเจอร์
ใช้ ผักตบชวา หญ้าแฝก
3. กระเป๋าของใช้ในบ้าน ฯลฯ
ใช้ผักตบชวา อื่นๆ
การใช้งานโพลิเมอร์คอมโพสิทจากเส้นใยธรรมชาติ
ข้อดีของเส้นใยธรรมชาติ
1. เป็นทรัพยากรที่ไม่หมดสิ้น
2. ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
3. มีสมบัติที่ดีบางประการ
- น้ำหนักเบา
- ไม่เป็นพิษ
- เป็นฉนวนความร้อน / เสียงดี
- มีศักยภาพในการเสริมแรงวัสดุอื่น
- ย่อยสลายได้
ข้อเสียของเส้นใยธรรมชาติ
สำหรับการใช้งานอุตสาหกรรม
1. คุณภาพไม่คงที่
2. ราคาไม่คงที่
3. ไม่ทนความร้อน
4. ดูดความชื้น
5. ติดไฟง่าย
6. เสียหายง่ายระหว่างการผลิต
7. มีข้อจำกัดในการนำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่
สำหรับการใช้งานหัตถกรรม
1. ราคาไม่คงที่
2. ขึ้นราง่าย
3. คุณภาพไม่คงที่
ปัญหาการพัฒนาใช้ประโยชน์จากเส้นใยธรรมชาติในประเทศไทย
1. ไม่สามารถควบคุมการผลิตได้หรือทำได้ยาก
- การผลิตด้านการเกษตร ขาดการวางแผนอย่างมีระบบ
- เกษตรกรไม่มีข้อมูลด้านการตลาดสนับสนุน
2. พื้นที่ปลูกและปริมาณการผลิตลดลงเรื่อยๆ
- จะสามารผลิตได้เพียงพอกับความต้องการหรือไม่
3. หากพัฒนาเป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรม
- จะพบคู่แข่งจากวัสดุสังเคราะห์
การพัฒนาเส้นใยธรรมชาติ
1. มุ่งเน้นการผลิตในสินค้าที่มีความได้เปรียบเพิ่มประสิทะภาพและลดต้นทุนการผลิต
2. พัฒนาการตลาดในเชิงรุก
3. สร้างความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรม
4. ขยายการค้าในเขตเอเซียและในประเทศ
5. เตรียมพร้อมในเรื่องมาตราฐานสากล สิ่งแวดล้อม และสวัสดิการในโรงงาน
6. ผลิตสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
นโยบายสนับสนุนของภาครัฐ
1. ภาครัฐสนับสนุนให้มีการปลูกฝ้ายหรือพืชที่ให้เส้นใยมากขึ้น
2. มีการประกันราคาเพื่อความมั่นใจของเกษตรกร
3. กรณีฝ้ายให้โรงงานปั้นด้ายรับซื้อดอกฝ้ายในราคาประกันที่รัฐกำหนด
สอบถามรายละเอียดได้ที่ http://bchid.dip.go.th/distribute
distribute@dip.go.th
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-