จากกรณีกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญ จะมาถึงการลงประชามติ ซึ่งเป็นขั้นตอนสำคัญไม่ว่าประชาชนจะ“รับร่าง” หรือ “ไม่รับร่าง” รัฐ
ธรรมนูญฉบับปีพ.ศ. 2550 เพราะจะมีผลต่อการเมืองไทยอย่างมาก เพื่อรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นอันจะเป็นประโยชน์ต่อคณะผู้จัดการลงประชามติร่างรัฐ
ธรรมนูญให้เกิดผลสัมฤทธิ์ “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้ง (อายุ 18 ปีขึ้นไป) สุ่ม
กระจายทุกสาขาอาชีพ ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ จำนวน 27 จังหวัด รวมทั้งสิ้น 4,739 คน (กทม. 1,214 คน 25.62% ต่างจังหวัด
3,525 คน 74.38%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 8 กรกฎาคม 2550 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชน “สนใจ” การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ มากน้อยเพียงใด?
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 ค่อนข้างสนใจ 33.13%
เพราะ จะทำให้มีการเลือกตั้งได้เร็วหรือไม่,จะทำให้การเมืองหยุดความวุ่นวาย ฯลฯ
2 ไม่ค่อยสนใจ 25.66%
เพราะ เบื่อการเมือง, คงไม่ทำให้อะไรดีขึ้น, คงวุ่นวายเหมือนเดิม ฯลฯ
3 เฉย ๆ 19.29%
เพราะ ไม่อยากยุ่งเรื่องการเมือง การเมืองคงเหมือนเดิม ฯลฯ
4 สนใจมาก 12.87%
เพราะ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน, ชอบการเมือง, อยากไปลงประชามติ ฯลฯ
5 ไม่สนใจเลย 9.05%
เพราะ ไม่ค่อยรู้เรื่องรัฐธรรมนูญ ฯลฯ
2. “จุดเด่น” ของร่างรัฐธรรมนูญในสายตาประชาชนที่สนใจการร่างรัฐธรรมนูญ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 มีการระดมความคิดเห็นหลากหลาย/มีผู้รู้ผู้ทรงคุณวุฒิรวมร่าง 34.16%
2 มองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างจริงจัง/ใส่ใจประชาชน 28.63%
3 มีการตรวจสอบนักการเมือง/มีองค์กรทำให้การเมืองโปร่งใส 23.49%
4 รวบรวมปัญหาจากฉบับอื่น ๆ มาปรับปรุงแก้ไข 9.64 %
* อื่นๆ เช่น เป็นข่าวและมีความเคลื่อนไหวตลอด ฯลฯ 4.08%
3. “จุดด้อย” ของร่างรัฐธรรมนูญในสายตาประชาชนที่สนใจการร่างรัฐธรรมนูญ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 คณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน / ผู้ร่างไม่ได้มาตามระบอบประชาธิปไตย 35.72%
2 รัฐธรรมนูญยังไม่ลงตัว เพราะยังมีการประท้วงและไม่เห็นด้วยจากกลุ่มที่คัดค้าน 21.50%
3 ไม่ให้ความสำคัญต่อพุทธศาสนา/ไม่บัญญัติพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติในรัฐธรรมนูญ 17.13%
4 มีการหมกเม็ด สืบทอดอำนาจ/เผด็จการ/ไม่โปร่งใส 14.75%
* อื่น ๆ มุ่งการล้างอำนาจเก่ามากเกินไป, กลัวทักษิณ ฯลฯ 10.90%
4. ทำอย่างไร? การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญจึงจะสำเร็จ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 ต้องเร่งให้ความรู้เรื่องวิธีการลงประชามติ / เร่งประชาสัมพันธ์ให้ทราบ 40.05%
2 ควรสรุปเนื้อหารัฐธรรมนูญอย่างง่าย ๆ ให้ประชาชน 26.46%
3 ควรเสนอแนะแนวทางแก่ประชาชน เพื่อแก้ไขความสับสนระหว่างกลุ่มที่สนับสนุนและกลุ่มคัดค้านรัฐธรรมนูญ 18.06%
4 ทุกฝ่ายต้องจริงใจกับประชาชน/ให้ความสำคัญจริง ๆ ต่อประชาชน/ไม่ใช่ให้มีการลงประชามติพอเป็นพิธีเท่านั้น 10.93%
* อื่น ๆ เช่น ทุกกลุ่มหยุดประท้วง หยุดเคลื่อนไหว สร้างความเข้าใจแก่ประชาชน ฯลฯ 4.50%
5. สิ่งที่มีอิทธิผลต่อการ “รับร่าง” หรือ “ไม่รับร่าง” ของประชาชนต่อรัฐธรรมนูญ คือ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 สื่อมวลชน (โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ) 31.04%
2 ผู้นำชุมชน/นักการเมือง/หัวคะแนน 22.58%
3 ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการร่างรัฐธรรมนูญ/นักวิชาการ/นักกฎหมาย 20.53%
4 ญาติ/ครอบครัว/เพื่อน 10.97%
5 เอกสารเผยแพร่ต่าง ๆ 8.84%
* อื่น ๆ เช่น การติดตามการถ่ายทอดสด, การอภิปราย , การศึกษาด้วยตนเอง ฯลฯ 6.04%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ธรรมนูญฉบับปีพ.ศ. 2550 เพราะจะมีผลต่อการเมืองไทยอย่างมาก เพื่อรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นอันจะเป็นประโยชน์ต่อคณะผู้จัดการลงประชามติร่างรัฐ
ธรรมนูญให้เกิดผลสัมฤทธิ์ “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้ง (อายุ 18 ปีขึ้นไป) สุ่ม
กระจายทุกสาขาอาชีพ ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ จำนวน 27 จังหวัด รวมทั้งสิ้น 4,739 คน (กทม. 1,214 คน 25.62% ต่างจังหวัด
3,525 คน 74.38%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 8 กรกฎาคม 2550 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชน “สนใจ” การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ มากน้อยเพียงใด?
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 ค่อนข้างสนใจ 33.13%
เพราะ จะทำให้มีการเลือกตั้งได้เร็วหรือไม่,จะทำให้การเมืองหยุดความวุ่นวาย ฯลฯ
2 ไม่ค่อยสนใจ 25.66%
เพราะ เบื่อการเมือง, คงไม่ทำให้อะไรดีขึ้น, คงวุ่นวายเหมือนเดิม ฯลฯ
3 เฉย ๆ 19.29%
เพราะ ไม่อยากยุ่งเรื่องการเมือง การเมืองคงเหมือนเดิม ฯลฯ
4 สนใจมาก 12.87%
เพราะ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน, ชอบการเมือง, อยากไปลงประชามติ ฯลฯ
5 ไม่สนใจเลย 9.05%
เพราะ ไม่ค่อยรู้เรื่องรัฐธรรมนูญ ฯลฯ
2. “จุดเด่น” ของร่างรัฐธรรมนูญในสายตาประชาชนที่สนใจการร่างรัฐธรรมนูญ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 มีการระดมความคิดเห็นหลากหลาย/มีผู้รู้ผู้ทรงคุณวุฒิรวมร่าง 34.16%
2 มองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างจริงจัง/ใส่ใจประชาชน 28.63%
3 มีการตรวจสอบนักการเมือง/มีองค์กรทำให้การเมืองโปร่งใส 23.49%
4 รวบรวมปัญหาจากฉบับอื่น ๆ มาปรับปรุงแก้ไข 9.64 %
* อื่นๆ เช่น เป็นข่าวและมีความเคลื่อนไหวตลอด ฯลฯ 4.08%
3. “จุดด้อย” ของร่างรัฐธรรมนูญในสายตาประชาชนที่สนใจการร่างรัฐธรรมนูญ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 คณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน / ผู้ร่างไม่ได้มาตามระบอบประชาธิปไตย 35.72%
2 รัฐธรรมนูญยังไม่ลงตัว เพราะยังมีการประท้วงและไม่เห็นด้วยจากกลุ่มที่คัดค้าน 21.50%
3 ไม่ให้ความสำคัญต่อพุทธศาสนา/ไม่บัญญัติพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติในรัฐธรรมนูญ 17.13%
4 มีการหมกเม็ด สืบทอดอำนาจ/เผด็จการ/ไม่โปร่งใส 14.75%
* อื่น ๆ มุ่งการล้างอำนาจเก่ามากเกินไป, กลัวทักษิณ ฯลฯ 10.90%
4. ทำอย่างไร? การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญจึงจะสำเร็จ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 ต้องเร่งให้ความรู้เรื่องวิธีการลงประชามติ / เร่งประชาสัมพันธ์ให้ทราบ 40.05%
2 ควรสรุปเนื้อหารัฐธรรมนูญอย่างง่าย ๆ ให้ประชาชน 26.46%
3 ควรเสนอแนะแนวทางแก่ประชาชน เพื่อแก้ไขความสับสนระหว่างกลุ่มที่สนับสนุนและกลุ่มคัดค้านรัฐธรรมนูญ 18.06%
4 ทุกฝ่ายต้องจริงใจกับประชาชน/ให้ความสำคัญจริง ๆ ต่อประชาชน/ไม่ใช่ให้มีการลงประชามติพอเป็นพิธีเท่านั้น 10.93%
* อื่น ๆ เช่น ทุกกลุ่มหยุดประท้วง หยุดเคลื่อนไหว สร้างความเข้าใจแก่ประชาชน ฯลฯ 4.50%
5. สิ่งที่มีอิทธิผลต่อการ “รับร่าง” หรือ “ไม่รับร่าง” ของประชาชนต่อรัฐธรรมนูญ คือ
อันดับที่ ความคิดเห็น ภาพรวม
1 สื่อมวลชน (โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ) 31.04%
2 ผู้นำชุมชน/นักการเมือง/หัวคะแนน 22.58%
3 ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการร่างรัฐธรรมนูญ/นักวิชาการ/นักกฎหมาย 20.53%
4 ญาติ/ครอบครัว/เพื่อน 10.97%
5 เอกสารเผยแพร่ต่าง ๆ 8.84%
* อื่น ๆ เช่น การติดตามการถ่ายทอดสด, การอภิปราย , การศึกษาด้วยตนเอง ฯลฯ 6.04%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-