สภาพสังคมไทยที่ถดถอยอยู่ในขณะนี้ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะคนห่างไกลจากศาสนา จึงก่อให้เกิด
พฤติกรรมทั้งการเอารัดเอาเปรียบ การทำร้ายร่างกาย การล่วงละเมิดทางเพศ รวมถึงการประพฤติผิดในรูปแบบของ
การก่ออาชญากรรม ซึ่งปรากฏเป็นข่าวในสื่อต่างๆ ที่สร้างความหนักใจให้กับสาธารณชนในภาพรวม “สวนดุสิตโพ
ล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สะท้อนข้อมูลของประชาชนผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของ
ประเทศที่พักอาศัยในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,413 คน โดยจำแนกตามอายุได้ดังนี้ (ต่ำกว่า 15 ปี
81 คน 5.73% อายุ 15 — 20 ปี 318 คน 22.51% อายุ 21 — 25 ปี 372 คน 26.33%
อายุ 26 — 35 ปี 252 คน 17.83% อายุ 36 — 45 ปี 108 คน 7.64% อายุ 46 — 55 ปี
93 คน 6.58% อายุ 56 — 65 ปี 102 คน 7.22% สูงกว่า 65 ปี 87 คน 6.16%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 1 — 10 กรกฎาคม สรุปผลได้ดังนี้
1. กิจกรรมทางพุทธศาสนา “การสวดมนต์” ที่ “ประชาชน” ปฏิบัติ
ต่ำกว่า 15 ปี 15 — 20 ปี 21 — 25 ปี 26 — 35 ปี 36 — 45 ปี 46 — 55 ปี 56 — 65 ปี สูงกว่า 65 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 สวดมนต์ก่อนนอน 16.67% 49.09% 35.88% 41.94% 36.59% 25.00% 55.26% 52.50% 40.50%
เพราะ เป็นเวลาที่เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวน,มีเวลาส่วนตัวสามารถปฏิบัติได้สะดวก,ช่วยให้นอนหลับ ฝันดี,ไม่มีเวลาสวดมนต์ในช่วงเช้า ฯลฯ
อันดับที่ 2 สวดมนต์เป็นบางครั้ง 33.33% 40.91% 42.75% 39.78% 46.34% 53.13% 18.42% 20.00% 38.58%
เพราะ จำบทสวดมนต์ไม่ค่อยได้,ชอบทำบุญมากกว่า,ใช้การนั่งสมาธิแทน,หากเป็นวันสำคัญก็จะสวดมนต์,ส่วนใหญ่จะสวดร่วมกันเป็นหมู่คณะใหญ่ๆฯลฯ
อันดับที่ 3 สวดมนต์ตอนเช้า 50.00% 4.55% 5.34% 9.68% 12.20% 15.63% 23.68% 27.50% 13.24%
เพราะ เป็นการขอพรพระก่อนที่จะออกไปทำงานหรือไปโรงเรียน,เป็นการสร้างกำลังใจที่ดี ,รู้สึกสดชื่น,ทำให้เกิดสติ ,ช่วยปัดเป่าสิ่งไม่ดีที่จะเกิดกับตัวเรา ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่เคยสวดมนต์เลย - 5.45% 16.03% 8.60% 4.88% 6.25% 2.63% - 7.68%
เพราะ เวลาสวดมนต์แล้วรู้สึกง่วง,ไม่มีสมาธิพอ,เชื่อว่าการทำดีไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนก็ถือเป็นการสร้างบุญให้กับตัวเองแล้ว ฯลฯ
2. กิจกรรมทางศาสนา “การตักบาตร” ที่ “ประชาชน” ปฏิบัติ
ต่ำกว่า 15 ปี 15 — 20 ปี 21 — 25 ปี 26 — 35 ปี 36 — 45 ปี 46 — 55 ปี 56 — 65 ปี สูงกว่า 65 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 นานๆครั้งหรือเมื่อมีเวลา 11.11% 31.78% 41.06% 37.84% 32.61% 30.00% 28.95% 45.45% 35.15%
เพราะ ไม่ค่อยมีเวลา,ไม่สะดวก,บ้านอยู่ห่างจากวัด,น่ามาจากความตั้งใจที่จะทำจริงๆ สบายๆไม่ต้องเร่งรีบอะไร ฯลฯ
อันดับที่ 2 เฉพาะวันสำคัญทางศาสนา 22.22% 24.03% 19.87% 27.93% 13.04% 20.00% 26.32% 11.36% 21.67%
เพราะ ได้ทำกิจกรรมร่วมกับคนในครอบครัว,เป็นวันหยุดสามารถทำกิจกรรมได้สะดวก,อยากรักษาวัฒนธรรมประเพณีที่ดีไว้ให้อยู่ต่อไปฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉพาะวันเกิด 11.11% 27.13% 22.52% 20.72% 19.57% 15.00% 10.53% 11.36% 20.31%
เพราะ เพื่อความเป็นสิริมงคลให้กับตัวเอง,1 ปีมีแค่ครั้งเดียว,เป็นการต่อชีวิตให้กับตัวเอง,อยากพบเจอแต่สิ่งดีๆ ฯลฯ
อันดับที่ 4 2 — 3 ครั้งต่อเดือน 11.11% 6.20% 7.95% 3.60% 10.87% 10.00% - - 6.14%
เพราะ ถือว่าเป็นการทำบุญ อุทิศส่วนกุศลให้แก่เจ้ากรรมนายเวร ,ช่วยผ่อนหนักให้เป็นเบา,ขึ้นอยู่กับความสะดวกมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 5 ทุกวัน - 1.55% 1.99% 0.90% 8.70% 10.00% 18.42% 13.64% 4.61%
เพราะ เป็นความเคยชิน,มีพระเดินมาแถวบ้านทุกวัน,อยู่ใกล้วัด,เป็นคนตื่นเช้าอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 6 2 — 3 วันต่อสัปดาห์ 11.11% 2.33% 1.99% 1.80% 8.70% 5.00% 7.89% 6.82% 3.92%
เพราะ ตั้งใจใส่บาตรวันเว้นวัน,มีค่าใช้จ่ายอย่างอื่นที่จำเป็นอยู่,ตื่นเช้าทุกวันไม่ไหว ฯลฯ
อันดับที่ 7 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 22.22% 3.10% 0.66% 2.70% 4.35% 7.50% 2.63% - 3.41%
เพราะ วันธรรมดาต้องไปทำงานต้องออกจากบ้านแต่เช้า,จะสะดวกในช่วงวันหยุดมากกว่า,เป็นการเติมสายบุญไม่ให้ขาดช่วงไป ฯลฯ
อันดับที่ 8 1 ครั้งต่อเดือน 11.11% 1.55% 1.32% 3.60% 2.17% 2.50% - 11.36% 3.07%
เพราะ ไม่ค่อยมีเวลา ,รอให้ทุกคนในครอบครัวว่างพร้อมกันแล้วค่อยไป,ฯลฯ
อันดับที่ 9 ไม่เคยตักบาตรเลย - 2.33% 2.65% 0.90% - - 5.26% - 1.71%
เพราะ ตื่นเช้าไม่ไหว,ต้องออกจากบ้านไปโรงเรียน/ไปทำงานแต่เช้ามืด,ยังมีคนใส่บาตรอีกมาก ไม่อยากให้ของที่ได้รับต้องเหลือไว้เฉยๆ ฯลฯ
3. กิจกรรมทางศาสนา “การไปทำบุญที่วัด” ที่ “ประชาชน” ปฏิบัติ
ต่ำกว่า 15 ปี 15 — 20 ปี 21 — 25 ปี 26 — 35 ปี 36 — 45 ปี 46 — 55 ปี 56 — 65 ปี สูงกว่า 65 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 นานๆครั้งหรือเมื่อมีเวลา 11.11% 49.57% 46.15% 48.86% 43.90% 41.94% 31.43% 68.97% 45.36%
เพราะ ต้องการทำบุญด้วยความสบายใจจริงๆโดยไม่มีเรื่องอื่นที่จะต้องกังวล,ชอบไปทำบุญในต่างจังหวัดมากกว่าจึงต้องอาศัยช่วงเวลาที่มีวันหยุดติดต่อกัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไปเฉพาะวันสำคัญทางศาสนา 22.22% 44.35% 36.92% 38.64% 34.15% 29.03% 48.57% - 36.09%
เพราะ ที่โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมทำให้ได้ร่วมทำบุญด้วย,เป็นวันหยุดสามารถไปพร้อมกับครอบครัวได้,เป็นการแสดงความศรัทธาของชาวพุทธที่มีต่อศาสนา ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไปทุกสัปดาห์ 55.56% 0.87% 3.08% 4.55% 9.76% 16.13% 8.57% 10.34% 7.86%
เพราะ วัดอยู่ใกล้ เดินทางสะดวก,เป็นความเคยชินที่จะต้องทำเป็นประจำอยู่แล้ว,เป็นวัดที่นับถือมานาน,ต้องการไปปฏิบัติธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไปทุกเดือน 11.11% 4.35% 8.46% 6.82% 12.20% 3.23% 8.57% - 6.85%
เพราะ เป็นการเติมบุญและสิ่งที่ดีให้กับตัวเรา,เป็นกำลังใจที่ดีในการดำรงชีวิตประจำวัน,ไม่อยากห่างหายจากการทำบุญไปนานๆ,ผู้ปกครองพาไปฯลฯ
อันดับที่ 5 ไม่เคยไปเลย - 0.87% 4.62% 1.14% - 9.68% 2.86% 20.69% 3.63%
เพราะ ปัจจุบันนี้มีการหาผลประโยชน์จากวัดหรือที่เรียกว่าพุทธพาณิชย์ค่อนข้างมาก ทำให้เกิดความไม่แน่ใจ,การแสดงความกตัญญูกตเวทีเป็นสิ่งที่ดีที่สุดกว่าการทำบุญใดๆ ฯลฯ
อันดับที่ 6 ไปทำบุญเมื่อมีโชค - - 0.77% - - - - - 0.20%
เพราะ เป็นการทำบุญเพื่อเสริมดวง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
พฤติกรรมทั้งการเอารัดเอาเปรียบ การทำร้ายร่างกาย การล่วงละเมิดทางเพศ รวมถึงการประพฤติผิดในรูปแบบของ
การก่ออาชญากรรม ซึ่งปรากฏเป็นข่าวในสื่อต่างๆ ที่สร้างความหนักใจให้กับสาธารณชนในภาพรวม “สวนดุสิตโพ
ล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สะท้อนข้อมูลของประชาชนผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของ
ประเทศที่พักอาศัยในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,413 คน โดยจำแนกตามอายุได้ดังนี้ (ต่ำกว่า 15 ปี
81 คน 5.73% อายุ 15 — 20 ปี 318 คน 22.51% อายุ 21 — 25 ปี 372 คน 26.33%
อายุ 26 — 35 ปี 252 คน 17.83% อายุ 36 — 45 ปี 108 คน 7.64% อายุ 46 — 55 ปี
93 คน 6.58% อายุ 56 — 65 ปี 102 คน 7.22% สูงกว่า 65 ปี 87 คน 6.16%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 1 — 10 กรกฎาคม สรุปผลได้ดังนี้
1. กิจกรรมทางพุทธศาสนา “การสวดมนต์” ที่ “ประชาชน” ปฏิบัติ
ต่ำกว่า 15 ปี 15 — 20 ปี 21 — 25 ปี 26 — 35 ปี 36 — 45 ปี 46 — 55 ปี 56 — 65 ปี สูงกว่า 65 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 สวดมนต์ก่อนนอน 16.67% 49.09% 35.88% 41.94% 36.59% 25.00% 55.26% 52.50% 40.50%
เพราะ เป็นเวลาที่เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวน,มีเวลาส่วนตัวสามารถปฏิบัติได้สะดวก,ช่วยให้นอนหลับ ฝันดี,ไม่มีเวลาสวดมนต์ในช่วงเช้า ฯลฯ
อันดับที่ 2 สวดมนต์เป็นบางครั้ง 33.33% 40.91% 42.75% 39.78% 46.34% 53.13% 18.42% 20.00% 38.58%
เพราะ จำบทสวดมนต์ไม่ค่อยได้,ชอบทำบุญมากกว่า,ใช้การนั่งสมาธิแทน,หากเป็นวันสำคัญก็จะสวดมนต์,ส่วนใหญ่จะสวดร่วมกันเป็นหมู่คณะใหญ่ๆฯลฯ
อันดับที่ 3 สวดมนต์ตอนเช้า 50.00% 4.55% 5.34% 9.68% 12.20% 15.63% 23.68% 27.50% 13.24%
เพราะ เป็นการขอพรพระก่อนที่จะออกไปทำงานหรือไปโรงเรียน,เป็นการสร้างกำลังใจที่ดี ,รู้สึกสดชื่น,ทำให้เกิดสติ ,ช่วยปัดเป่าสิ่งไม่ดีที่จะเกิดกับตัวเรา ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่เคยสวดมนต์เลย - 5.45% 16.03% 8.60% 4.88% 6.25% 2.63% - 7.68%
เพราะ เวลาสวดมนต์แล้วรู้สึกง่วง,ไม่มีสมาธิพอ,เชื่อว่าการทำดีไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนก็ถือเป็นการสร้างบุญให้กับตัวเองแล้ว ฯลฯ
2. กิจกรรมทางศาสนา “การตักบาตร” ที่ “ประชาชน” ปฏิบัติ
ต่ำกว่า 15 ปี 15 — 20 ปี 21 — 25 ปี 26 — 35 ปี 36 — 45 ปี 46 — 55 ปี 56 — 65 ปี สูงกว่า 65 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 นานๆครั้งหรือเมื่อมีเวลา 11.11% 31.78% 41.06% 37.84% 32.61% 30.00% 28.95% 45.45% 35.15%
เพราะ ไม่ค่อยมีเวลา,ไม่สะดวก,บ้านอยู่ห่างจากวัด,น่ามาจากความตั้งใจที่จะทำจริงๆ สบายๆไม่ต้องเร่งรีบอะไร ฯลฯ
อันดับที่ 2 เฉพาะวันสำคัญทางศาสนา 22.22% 24.03% 19.87% 27.93% 13.04% 20.00% 26.32% 11.36% 21.67%
เพราะ ได้ทำกิจกรรมร่วมกับคนในครอบครัว,เป็นวันหยุดสามารถทำกิจกรรมได้สะดวก,อยากรักษาวัฒนธรรมประเพณีที่ดีไว้ให้อยู่ต่อไปฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉพาะวันเกิด 11.11% 27.13% 22.52% 20.72% 19.57% 15.00% 10.53% 11.36% 20.31%
เพราะ เพื่อความเป็นสิริมงคลให้กับตัวเอง,1 ปีมีแค่ครั้งเดียว,เป็นการต่อชีวิตให้กับตัวเอง,อยากพบเจอแต่สิ่งดีๆ ฯลฯ
อันดับที่ 4 2 — 3 ครั้งต่อเดือน 11.11% 6.20% 7.95% 3.60% 10.87% 10.00% - - 6.14%
เพราะ ถือว่าเป็นการทำบุญ อุทิศส่วนกุศลให้แก่เจ้ากรรมนายเวร ,ช่วยผ่อนหนักให้เป็นเบา,ขึ้นอยู่กับความสะดวกมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 5 ทุกวัน - 1.55% 1.99% 0.90% 8.70% 10.00% 18.42% 13.64% 4.61%
เพราะ เป็นความเคยชิน,มีพระเดินมาแถวบ้านทุกวัน,อยู่ใกล้วัด,เป็นคนตื่นเช้าอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 6 2 — 3 วันต่อสัปดาห์ 11.11% 2.33% 1.99% 1.80% 8.70% 5.00% 7.89% 6.82% 3.92%
เพราะ ตั้งใจใส่บาตรวันเว้นวัน,มีค่าใช้จ่ายอย่างอื่นที่จำเป็นอยู่,ตื่นเช้าทุกวันไม่ไหว ฯลฯ
อันดับที่ 7 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 22.22% 3.10% 0.66% 2.70% 4.35% 7.50% 2.63% - 3.41%
เพราะ วันธรรมดาต้องไปทำงานต้องออกจากบ้านแต่เช้า,จะสะดวกในช่วงวันหยุดมากกว่า,เป็นการเติมสายบุญไม่ให้ขาดช่วงไป ฯลฯ
อันดับที่ 8 1 ครั้งต่อเดือน 11.11% 1.55% 1.32% 3.60% 2.17% 2.50% - 11.36% 3.07%
เพราะ ไม่ค่อยมีเวลา ,รอให้ทุกคนในครอบครัวว่างพร้อมกันแล้วค่อยไป,ฯลฯ
อันดับที่ 9 ไม่เคยตักบาตรเลย - 2.33% 2.65% 0.90% - - 5.26% - 1.71%
เพราะ ตื่นเช้าไม่ไหว,ต้องออกจากบ้านไปโรงเรียน/ไปทำงานแต่เช้ามืด,ยังมีคนใส่บาตรอีกมาก ไม่อยากให้ของที่ได้รับต้องเหลือไว้เฉยๆ ฯลฯ
3. กิจกรรมทางศาสนา “การไปทำบุญที่วัด” ที่ “ประชาชน” ปฏิบัติ
ต่ำกว่า 15 ปี 15 — 20 ปี 21 — 25 ปี 26 — 35 ปี 36 — 45 ปี 46 — 55 ปี 56 — 65 ปี สูงกว่า 65 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 นานๆครั้งหรือเมื่อมีเวลา 11.11% 49.57% 46.15% 48.86% 43.90% 41.94% 31.43% 68.97% 45.36%
เพราะ ต้องการทำบุญด้วยความสบายใจจริงๆโดยไม่มีเรื่องอื่นที่จะต้องกังวล,ชอบไปทำบุญในต่างจังหวัดมากกว่าจึงต้องอาศัยช่วงเวลาที่มีวันหยุดติดต่อกัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไปเฉพาะวันสำคัญทางศาสนา 22.22% 44.35% 36.92% 38.64% 34.15% 29.03% 48.57% - 36.09%
เพราะ ที่โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมทำให้ได้ร่วมทำบุญด้วย,เป็นวันหยุดสามารถไปพร้อมกับครอบครัวได้,เป็นการแสดงความศรัทธาของชาวพุทธที่มีต่อศาสนา ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไปทุกสัปดาห์ 55.56% 0.87% 3.08% 4.55% 9.76% 16.13% 8.57% 10.34% 7.86%
เพราะ วัดอยู่ใกล้ เดินทางสะดวก,เป็นความเคยชินที่จะต้องทำเป็นประจำอยู่แล้ว,เป็นวัดที่นับถือมานาน,ต้องการไปปฏิบัติธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไปทุกเดือน 11.11% 4.35% 8.46% 6.82% 12.20% 3.23% 8.57% - 6.85%
เพราะ เป็นการเติมบุญและสิ่งที่ดีให้กับตัวเรา,เป็นกำลังใจที่ดีในการดำรงชีวิตประจำวัน,ไม่อยากห่างหายจากการทำบุญไปนานๆ,ผู้ปกครองพาไปฯลฯ
อันดับที่ 5 ไม่เคยไปเลย - 0.87% 4.62% 1.14% - 9.68% 2.86% 20.69% 3.63%
เพราะ ปัจจุบันนี้มีการหาผลประโยชน์จากวัดหรือที่เรียกว่าพุทธพาณิชย์ค่อนข้างมาก ทำให้เกิดความไม่แน่ใจ,การแสดงความกตัญญูกตเวทีเป็นสิ่งที่ดีที่สุดกว่าการทำบุญใดๆ ฯลฯ
อันดับที่ 6 ไปทำบุญเมื่อมีโชค - - 0.77% - - - - - 0.20%
เพราะ เป็นการทำบุญเพื่อเสริมดวง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-