จากกรณีที่ ปปช. 9 คนลาออก ส่งผลให้ต้องมีการสรรหาใหม่ แต่ติดขัดในกรณีที่รัฐธรรมนูญระบุเรื่อง
กรรมการในการสรรหาที่ต้องมาจากตัวแทนพรรคการเมืองที่มี ส.ส.ในสภา ที่มีไม่ครบจำนวน จึงมีการนำเสนอแก้ไข
รัฐธรรมนูญดังกล่าว “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่สนใจ
ในเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,170 คน (ต่ำกว่าปริญญา
ตรี 260 คน 22.22% ปริญญาตรี 765 คน 65.38% สูงกว่าปริญญาตรี 145 คน 12.39%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 2- 3 มิถุนายน 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญในครั้งนี้ควรแก้กี่ประเด็น
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรจะแก้ไขทุกประเด็นโดยรวมการแก้ไขวุฒิของผู้สมัคร ส.ส. ไปด้วย 52.94% 44.44% 48.28% 46.78%
เพราะ แก้ไขทั้งระบบจะได้สมบูรณ์,พิจารณาให้สอดคล้องและครอบคลุม
ทุกเรื่องที่เกี่ยวข้อง,เพื่อให้ง่ายต่อการปฏิบัติงาน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ควรแก้ไขเกี่ยวกับองค์กรอิสระทั้ง 3 ประเด็นคือ ปปช. , กกต และศาลรัฐธรรมนูญ 15.69% 33.99% 44.83% 31.33%
เพราะ ปัญหามีความเกี่ยวข้องกันควรแก้ไขในคราวเดียวกัน,
การทำงานยังขาดคุณภาพควรทำให้เกิดประสิทธิภาพ ฯลฯ
อันดับที่ 3 แก้ไขประเด็นเดียวเฉพาะเรื่อง ปปช. เท่านั้น 27.45% 19.61% 3.45% 19.31%
เพราะ จะได้เสร็จเร็วขึ้น,ควรทำก่อนเพราะเป็นเรื่องสำคัญ ฯลฯ
* อื่น ๆ เช่น ค่อยๆ ดำเนินการตามลำดับความสำคัญ, แก้ไขทุกประเด็น
ยกเว้นการแก้วุฒิของผู้สมัคร ส.ส. 3.92% 1.96% 3.45% 2.58%
2. “ประชาชน” คิดว่าควรมีการตัดสัดส่วน “ตัวแทนกรรมการสรรหาจากพรรคการเมือง” ออกหรือไม่?
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรตัดออก 38.00% 45.70% 42.86% 43.67%
เพราะ จะได้ไม่ถูกการเมืองครอบงำ,เพื่อตัดปัญหาผลประโยชน์,เพื่อความโปร่งใส,นักการเมืองขาดความน่าเชื่อถือ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ควรตัดออก 34.00% 35.10% 42.86% 35.81%
เพราะ เพื่อความยุติธรรม, ถือเป็นตัวแทนจากประชาชน,ควรมีต่อไปแต่อาจจะลดปริมาณลงได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ตัดหรือไม่ตัดก็ได้ 28.00% 19.21% 14.29% 20.52%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติงาน, เป็นไปตามความสมดุลของระบบการเมืองไทย ฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าควรจะมีการนำ “ประธานรัฐสภา” มาเป็นกรรมการสรรหาหรือไม่?
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ควร 45.83% 55.63% 60.71% 54.19%
เพราะ ประธานมาจากพรรครัฐบาล,มีหน้าที่ที่จะต้องทำตัวเป็นกลาง,ควรแยกหน้าที่ของแต่ละส่วนให้ชัดเจน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ควร 35.42% 37.09% 35.71% 36.56%
เพราะ เป็นประธานฝ่ายนิติบัญญัติ,เป็นตัวแทนของประชาชนและของส.ส.ที่เลือกมา,ทำให้เกิดความหลากหลายทางความคิดฯลฯ
อันดับที่ 3 มีก็ได้ไม่มีก็ได้ 18.75% 7.28% 3.57% 9.25%
เพราะ ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมอีกครั้ง, อยู่ที่ความสามารถและความซื่อสัตย์ของประธานสภามากกว่า ฯลฯ
4. “ประชาชน” คิดว่าควรจะมีการนำ “ผู้นำฝ่ายค้าน” มาเป็นกรรมการสรรหาหรือไม่?
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควร 58.00% 56.29% 64.29% 57.64%
เพราะ จะได้มีการถ่วงดุลอำนาจ,เพื่อการทำงานที่โปร่งใส,ฝ่ายค้านก็มาจากเสียงส่วนหนึ่งของประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ควร 32.00% 35.76% 28.57% 34.06%
เพราะ เป็นตัวแทนของพรรคการเมืองอาจมีการครอบงำทางการเมือง, เพื่อความเป็นกลาง ฯลฯ
อันดับที่ 3 มีก็ได้ไม่มีก็ได้ 10.00% 7.95% 7.14% 8.30%
เพราะ ควรมีการพิจารณาความเหมาะสมอย่างถี่ถ้วนก่อน, ต้องมีการหาผู้ที่เหมาะสมที่ดีที่สุด ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
กรรมการในการสรรหาที่ต้องมาจากตัวแทนพรรคการเมืองที่มี ส.ส.ในสภา ที่มีไม่ครบจำนวน จึงมีการนำเสนอแก้ไข
รัฐธรรมนูญดังกล่าว “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่สนใจ
ในเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,170 คน (ต่ำกว่าปริญญา
ตรี 260 คน 22.22% ปริญญาตรี 765 คน 65.38% สูงกว่าปริญญาตรี 145 คน 12.39%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 2- 3 มิถุนายน 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญในครั้งนี้ควรแก้กี่ประเด็น
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรจะแก้ไขทุกประเด็นโดยรวมการแก้ไขวุฒิของผู้สมัคร ส.ส. ไปด้วย 52.94% 44.44% 48.28% 46.78%
เพราะ แก้ไขทั้งระบบจะได้สมบูรณ์,พิจารณาให้สอดคล้องและครอบคลุม
ทุกเรื่องที่เกี่ยวข้อง,เพื่อให้ง่ายต่อการปฏิบัติงาน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ควรแก้ไขเกี่ยวกับองค์กรอิสระทั้ง 3 ประเด็นคือ ปปช. , กกต และศาลรัฐธรรมนูญ 15.69% 33.99% 44.83% 31.33%
เพราะ ปัญหามีความเกี่ยวข้องกันควรแก้ไขในคราวเดียวกัน,
การทำงานยังขาดคุณภาพควรทำให้เกิดประสิทธิภาพ ฯลฯ
อันดับที่ 3 แก้ไขประเด็นเดียวเฉพาะเรื่อง ปปช. เท่านั้น 27.45% 19.61% 3.45% 19.31%
เพราะ จะได้เสร็จเร็วขึ้น,ควรทำก่อนเพราะเป็นเรื่องสำคัญ ฯลฯ
* อื่น ๆ เช่น ค่อยๆ ดำเนินการตามลำดับความสำคัญ, แก้ไขทุกประเด็น
ยกเว้นการแก้วุฒิของผู้สมัคร ส.ส. 3.92% 1.96% 3.45% 2.58%
2. “ประชาชน” คิดว่าควรมีการตัดสัดส่วน “ตัวแทนกรรมการสรรหาจากพรรคการเมือง” ออกหรือไม่?
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรตัดออก 38.00% 45.70% 42.86% 43.67%
เพราะ จะได้ไม่ถูกการเมืองครอบงำ,เพื่อตัดปัญหาผลประโยชน์,เพื่อความโปร่งใส,นักการเมืองขาดความน่าเชื่อถือ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ควรตัดออก 34.00% 35.10% 42.86% 35.81%
เพราะ เพื่อความยุติธรรม, ถือเป็นตัวแทนจากประชาชน,ควรมีต่อไปแต่อาจจะลดปริมาณลงได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ตัดหรือไม่ตัดก็ได้ 28.00% 19.21% 14.29% 20.52%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติงาน, เป็นไปตามความสมดุลของระบบการเมืองไทย ฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าควรจะมีการนำ “ประธานรัฐสภา” มาเป็นกรรมการสรรหาหรือไม่?
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ควร 45.83% 55.63% 60.71% 54.19%
เพราะ ประธานมาจากพรรครัฐบาล,มีหน้าที่ที่จะต้องทำตัวเป็นกลาง,ควรแยกหน้าที่ของแต่ละส่วนให้ชัดเจน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ควร 35.42% 37.09% 35.71% 36.56%
เพราะ เป็นประธานฝ่ายนิติบัญญัติ,เป็นตัวแทนของประชาชนและของส.ส.ที่เลือกมา,ทำให้เกิดความหลากหลายทางความคิดฯลฯ
อันดับที่ 3 มีก็ได้ไม่มีก็ได้ 18.75% 7.28% 3.57% 9.25%
เพราะ ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมอีกครั้ง, อยู่ที่ความสามารถและความซื่อสัตย์ของประธานสภามากกว่า ฯลฯ
4. “ประชาชน” คิดว่าควรจะมีการนำ “ผู้นำฝ่ายค้าน” มาเป็นกรรมการสรรหาหรือไม่?
ต่ำกว่าป.ตรี ปริญญาตรี สูงกว่า ป.ตรี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควร 58.00% 56.29% 64.29% 57.64%
เพราะ จะได้มีการถ่วงดุลอำนาจ,เพื่อการทำงานที่โปร่งใส,ฝ่ายค้านก็มาจากเสียงส่วนหนึ่งของประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ควร 32.00% 35.76% 28.57% 34.06%
เพราะ เป็นตัวแทนของพรรคการเมืองอาจมีการครอบงำทางการเมือง, เพื่อความเป็นกลาง ฯลฯ
อันดับที่ 3 มีก็ได้ไม่มีก็ได้ 10.00% 7.95% 7.14% 8.30%
เพราะ ควรมีการพิจารณาความเหมาะสมอย่างถี่ถ้วนก่อน, ต้องมีการหาผู้ที่เหมาะสมที่ดีที่สุด ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-