ประชาธิปัตย์ นำใน กทม. พลังประชาชน นำลิ่วในต่างจังหวัด คนกทม. เลือก พรรค มากกว่า ผู้สมัคร คนต่างจังหวัด เลือก ผู้
สมัคร มากกว่า พรรค
ยิ่งใกล้วันเลือกตั้ง 23 ธันวาคม 2550 การแข่งขันของพรรคการเมืองยิ่งเข้มข้นขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะการกำลังจะเปิดตัวผู้สมัครใน
พื้นที่ สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศ จำนวน 4,410 คน (กทม. 1,217 คน
27.60% ตจว. 3,193 คน 72.40%) ระหว่างวันที่ 1-10 พฤศจิกายน 2550 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความนิยมของผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อพรรคการเมือง
อันดับที่ กทม. ตจว. ภาพรวม
1 พรรคพลังประชาชน 30.77% 38.74% 38.58%
2 พรรคประชาธิปัตย์ 46.15% 28.29% 32.29%
3 พรรคชาติไทย 8.28% 11.12% 10.27%
4 พรรคมัชฌิมาธิปไตย 6.59% 11.54% 9.39%
5 พรรคเพื่อแผ่นดิน 4.40% 5.49% 5.00%
6 พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา 2.20% 2.75% 2.71%
7 พรรคประชาราช 1.10% 1.38% 1.21%
* พรรคอื่น ๆ 0.51% 0.69% 0.55%
2. สิ่งที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกส.ส. ระหว่าง “พรรคที่สังกัด” กับ “ตัวผู้สมัคร”
อันดับที่ กทม. ตจว. ภาพรวม
1 พรรคที่สังกัดและตัวผู้สมัคร 56.78% 38.83% 43.79%
2 ตัวผู้สมัคร 14.30% 41.15% 33.74%
3 พรรคที่สังกัด 28.92% 20.02% 22.47%
3. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง รับรู้บทบาท/หน้าที่ของส.ส. ว่าเข้าไปทำหน้าที่อะไร?
อันดับที่ กทม. ตจว. ภาพรวม
1 เป็นปากเสียง/เป็นตัวแทน/ช่วยเหลือประชาชน 34.18% 49.08% 44.97%
2 ควบคุมการบริหาร/ไปเป็นรัฐบาลและฝ่ายค้าน 28.18% 33.79% 32.24%
3 ไปทำหน้าที่ในสภา โดยเฉพาะการออกกฎหมาย 26.71% 6.42% 12.02%
4 ช่วยกันพัฒนาประเทศ 8.38% 6.86% 7.28%
* อื่น ๆ เช่น ช่วยให้ประเทศเป็นประชาธิปไตย 2.55% 3.85% 3.49%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
สมัคร มากกว่า พรรค
ยิ่งใกล้วันเลือกตั้ง 23 ธันวาคม 2550 การแข่งขันของพรรคการเมืองยิ่งเข้มข้นขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะการกำลังจะเปิดตัวผู้สมัครใน
พื้นที่ สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศ จำนวน 4,410 คน (กทม. 1,217 คน
27.60% ตจว. 3,193 คน 72.40%) ระหว่างวันที่ 1-10 พฤศจิกายน 2550 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความนิยมของผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อพรรคการเมือง
อันดับที่ กทม. ตจว. ภาพรวม
1 พรรคพลังประชาชน 30.77% 38.74% 38.58%
2 พรรคประชาธิปัตย์ 46.15% 28.29% 32.29%
3 พรรคชาติไทย 8.28% 11.12% 10.27%
4 พรรคมัชฌิมาธิปไตย 6.59% 11.54% 9.39%
5 พรรคเพื่อแผ่นดิน 4.40% 5.49% 5.00%
6 พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา 2.20% 2.75% 2.71%
7 พรรคประชาราช 1.10% 1.38% 1.21%
* พรรคอื่น ๆ 0.51% 0.69% 0.55%
2. สิ่งที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกส.ส. ระหว่าง “พรรคที่สังกัด” กับ “ตัวผู้สมัคร”
อันดับที่ กทม. ตจว. ภาพรวม
1 พรรคที่สังกัดและตัวผู้สมัคร 56.78% 38.83% 43.79%
2 ตัวผู้สมัคร 14.30% 41.15% 33.74%
3 พรรคที่สังกัด 28.92% 20.02% 22.47%
3. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง รับรู้บทบาท/หน้าที่ของส.ส. ว่าเข้าไปทำหน้าที่อะไร?
อันดับที่ กทม. ตจว. ภาพรวม
1 เป็นปากเสียง/เป็นตัวแทน/ช่วยเหลือประชาชน 34.18% 49.08% 44.97%
2 ควบคุมการบริหาร/ไปเป็นรัฐบาลและฝ่ายค้าน 28.18% 33.79% 32.24%
3 ไปทำหน้าที่ในสภา โดยเฉพาะการออกกฎหมาย 26.71% 6.42% 12.02%
4 ช่วยกันพัฒนาประเทศ 8.38% 6.86% 7.28%
* อื่น ๆ เช่น ช่วยให้ประเทศเป็นประชาธิปไตย 2.55% 3.85% 3.49%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-