เนื่องในวันที่ 29 กรกฎาคม เป็น “วันภาษาไทยแห่งชาติ” "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจ
กรณี “ภาษาไทย ในทัศนะ ของ นักเรียน / นักศึกษา / ครู / อาจารย์ / ผู้บริหาร” ในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน
1,469 คน (นักเรียน 715 คน 48.67% นักศึกษา 415 คน 28.25% ครู/อาจารย์ 214 คน 14.57% และผู้บริหาร
การศึกษา 125 คน 8.51%) ระหว่างวันที่ 25 - 28 กรกฏาคม 2545 สรุปผลได้ดังนี้
1. วิชาที่นักเรียน / นักศึกษาชอบมากที่สุด คือ
นักเรียน นักศึกษา ภาพรวม
อันดับที่ 1 ภาษาอังกฤษ 20.88 17.79 19.33
อันดับที่ 2 คณิตศาสตร์ 17.58 9.4 13.49
อันดับที่ 3 ภาษาไทย 10.99 13.09 12.04
อันดับที่ 4 สังคม 8.79 14.09 11.44
อันดับที่ 5 วิทยาศาสตร์ 15.38 7.38 11.38
อันดับที่ 6 ศิลปศึกษา 9.89 7.38 8.63
อันดับที่ 7 พลศึกษา 7.69 8.72 8.2
อันดับที่ 8 คอมพิวเตอร์ 2.2 7.05 4.63
อันดับที่ 9 นาฏศิลป์ 1.1 1.01 1.06
อันดับที่ 9 ดนตรี 1.1 1.01 1.06
* อื่น ๆ เช่น ภาษาญี่ปุ่น,ภาษาฝรั่งเศส,นิเทศศาสตร์ ฯลฯ 4.4 13.08 8.74
2. นักเรียน / นักศึกษาชอบเรียนวิชา “ภาษาไทย” หรือไม่ ?
นักเรียน นักศึกษา ภาพ
อันดับที่ 1 ค่อนข้างชอบ 39.13 33.23 36.18
เพราะ เป็นภาษาประจำชาติ,ใช้ในชีวิตประจำวัน ,ภาษามีความไพเราะ เข้าใจง่าย,ชอบเกี่ยวกับวรรณคดี ฯลฯ
อันดับที่ 2 ชอบ 29.35 34.82 32.08
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน, เป็นภาษาที่ควรอนุรักษ์ไว้ / เข้าใจง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยชอบ 17.39 18.35 17.87
เพราะ เป็นภาษาที่ยาก เป็นภาษาที่ดิ้นได้ , เป็นภาษาที่ต้องใช้ความจำมาก,อาจารย์สอนน่าเบื่อ ฯลฯ
อันดับที่ 4 เฉยๆ 9.78 8.54 9.16
เพราะ อาจารย์สอนไม่สนุก / เป็นภาษาที่ใช้ทุกวัน น่าเบื่อ / ไม่มีอะไรน่าสนใจ ฯลฯ
อันดับที่ 5 ไม่ชอบ 4.35 5.06 4.71
เพราะ เป็นภาษาที่ต้องใช้ความจำมาก, เป็นภาษาที่เราคุ้นเคยอยู่แล้ว, เป็นภาษาที่มีกฎเกณฑ์มาก ฯลฯ
3. นักเรียน / นักศึกษาให้ความสำคัญวิชา “ภาษาไทย” มากน้อยเพียงใด ?
นักเรียน นักศึกษา
อันดับที่ 1 สำคัญมาก 48.91 46.2 47.56
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน / เป็นภาษาประจำชาติ เอกลักษณ์วัฒนธรรมไทย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างสำคัญ 42.39 42.73 42.56
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน / เป็นภาษาประจำชาติที่ต้องศึกษาและเรียนรู้/เป็นวิชาที่น่าสนใจ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยสำคัญ 8.7 9.49 9.09
เพราะ ปัจจุบันภาษาไทยมีบทบาทน้อยกว่าภาษาสากล / เป็นภาษาที่คุ้นเคย และเป็นภาษาประจำชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่สำคัญ - 1.58 0.79
เพราะ เป็นวิชาที่น่าเบื่อ / ในยุค IT ภาษาไทยมีความสำคัญน้อยมาก / เป็นภาษาที่ต้องเรียนรู้อยู่แล้ว ฯลฯ
4. นักเรียน / นักศึกษาอยากให้ครู /อาจารย์ สอนวิชาภาษาไทยแบบใด
นักเรียน นักศึกษา ภาพรวม
อันดับที่ 1 สอนให้สนุก/ ไม่น่าเบื่อ (เหมือนครูลิลลี่) 56.74 27.45 42.09
อันดับที่ 2 คุณครูใจดี / น่ารัก / อารมณ์ดี 15.38 18.95 17.16
อันดับที่ 3 มีอุปกรณ์ในการสอนที่ทันสมัย 9.62 20.26 14.94
อันดับที่ 4 มีการสอนที่เข้าใจง่าย / เอาใจใส่นักเรียน / นักศึกษา 10.57 15.69 13.14
อันดับที่ 5 มีเทคนิคการสอนที่ดี / สอดแทรกความรู้ใหม่ ๆ 7.69 17.65 12.67
5. ทำอย่างไร ? วิชาภาษาไทย จึงน่าจะเรียนมากกว่านี้
นักเรียน นักศึกษา ภาพรวม
อันดับที่ 1 อาจารย์สอนให้สนุก / ไม่เครียด(เหมือนครูลิลลี่) 31.67 31.48 31.85
อันดับที่ 2 มีการจัดกิจกรรมการเรียนทั้งในและนอกสถานที่ให้มากขึ้น 31.94 34.26 29.62
อันดับที่ 3 สอนให้เข้าใจง่าย / มีเทคนิคการสอนที่เข้าใจง่าย 18.82 18.52 19.11
อันดับที่ 4 มีสื่อ / อุปกรณ์ที่ทันสมัยสอดคล้องเนื้อหา 5.34 4.63 6.05
อันดับที่ 5 ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย/ทันเหตุการณ์ 5.3 6.48 4.14
* อื่น ๆ เป็นคนที่ทันสมัย/ใจดี / บรรยากาศน่าเรียน ฯลฯ 6.93 4.63 9.23
6. ครู/ อาจารย์ /ผู้บริหาร ให้ความสำคัญ “วิชาภาษาไทย” มากน้อยเพียงใด ?
อันดับที่ 1 มากที่สุด 74.03
เพราะ เป็นภาษาประจำชาติ, เป็นสิ่งที่ควรอนุรักษ์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 มากพอสมควร 22.08
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน, เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมากนัก 3.89
เพราะ ใช้กันมาตั้งแต่เกิด,เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันไม่ค่อยแตกต่าง ฯลฯ
7. ปัญหา การเรียนการสอน “วิชาภาษาไทย” ในทัศนะ ครู/ อาจารย์ /ผู้บริหาร
? ด้านผู้บริหาร
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยให้ความสำคัญ/ละเลยกับภาษาไทย 36.67
อันดับที่ 2 ขาดการวางแผน/การปฏิบัติ / การติดตามประเมินผลที่ดี 21.67
อันดับที่ 3 มุ่งพัฒนาด้านอื่นมากกว่า ไม่เน้นวิชาภาษาไทย 20.66
อันดับที่ 4 ให้ความสำคัญในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ภาษาไทยน้อยเกินไป 13.45
อันดับที่ 5 ยังไม่มีใครให้ความสำคัญกับหลักสูตรภาษาไทย 7.55
? ด้านผู้สอน
อันดับที่ 1 ขาดความรู้ความสามารถ /ความเข้าใจในภาษาไทยอย่างแท้จริง 39.51
อันดับที่ 2 ขาดความชำนาญ/ขาดเทคนิคการสอน การถ่ายทอดความรู้ที่ดี 34.57
อันดับที่ 3 ไม่มีการพัฒนาด้านสื่อการเรียนการสอนให้ทันสมัย 11.42
อันดับที่ 4 ไม่มีการสอนที่เน้นการอ่านออกเสียง / การเขียนภาษาไทยที่ถูกต้อง 8.15
อันดับที่ 5 ไม่มีการปลูกฝังให้เกิดความภูมิใจและรักในการใช้ภาษาไทย 6.35
? ด้านผู้เรียน
อันดับที่ 1 ผู้เรียนไม่เห็นความสำคัญของภาษาไทย 32.84
อันดับที่ 2 การเรียนภาษาไทยค่อนข้างน่าเบื่อ / ทำให้ผู้เรียนขาดความตั้งใจในการเรียน 25.37
อันดับที่ 3 หลักสูตรกว้างมากเกินไป , การปฏิบัติน้อย ขาดความชัดเจน 17.91
อันดับที่ 4 ขาดจิตสำนึกและความรู้ในด้านการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง 16.42
อันดับที่ 5 มีค่านิยมและความสนใจในการเรียนภาษาต่างประเทศมากกว่าภาษาไทย 7.46
? ด้านประชาชนทั่วไป
อันดับที่ 1 การใช้ภาษาไทยแบบผิดๆ ทั้งการพูด การเขียน และการตีความ 26.74
อันดับที่ 2 ไม่ให้ความสำคัญกับภาษาไทย แต่เน้นภาษาต่างประเทศมากกว่า 24.42
อันดับที่ 3 ไม่มีการปลูกฝังหรืออนุรักษ์ให้ใช้ภาษาไทยให้กับเยาวชนอย่างจริงจัง 19.68
อันดับที่ 4 เรียนเพื่อพอใช้กับชีวิตประจำวัน/ ไม่เห็นประโยชน์ที่แท้จริง 18.75
อันดับที่ 5 ขาดการร่วมมือในการดูแลรักษาและพัฒนาภาษาไทยจากทุกฝ่าย 10.41
8. การทำให้ “วิชาภาษาไทย” เป็นที่น่าสนใจของ นักเรียน/นักศึกษา ในทัศนะของ ครู/ อาจารย์ /ผู้บริหาร
อันดับที่ 1 ปลูกจิตสำนึกให้เยาวชนเห็นคุณค่าของภาษาไทย 25.38
อันดับที่ 2 เพิ่มเทคนิควิธีการสอน, สื่อ,เทคโนโลยีในการช่วยถ่ายทอดความรู้ 24.62
อันดับที่ 3 ปฏิรูป/ปรับปรุงการเรียนการสอน/หลักสูตร ให้ถูกต้องทั้งฟัง พูด อ่าน เขียน 23.84
อันดับที่ 4 รณรงค์อย่างต่อเนื่องและจริงจังในการอนุรักษ์ส่งเสริมภาษาและวรรณกรรมไทย 13.85
อันดับที่ 5 จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้ / และทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย 12.31
--สวนดุสิตโพล--
กรณี “ภาษาไทย ในทัศนะ ของ นักเรียน / นักศึกษา / ครู / อาจารย์ / ผู้บริหาร” ในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน
1,469 คน (นักเรียน 715 คน 48.67% นักศึกษา 415 คน 28.25% ครู/อาจารย์ 214 คน 14.57% และผู้บริหาร
การศึกษา 125 คน 8.51%) ระหว่างวันที่ 25 - 28 กรกฏาคม 2545 สรุปผลได้ดังนี้
1. วิชาที่นักเรียน / นักศึกษาชอบมากที่สุด คือ
นักเรียน นักศึกษา ภาพรวม
อันดับที่ 1 ภาษาอังกฤษ 20.88 17.79 19.33
อันดับที่ 2 คณิตศาสตร์ 17.58 9.4 13.49
อันดับที่ 3 ภาษาไทย 10.99 13.09 12.04
อันดับที่ 4 สังคม 8.79 14.09 11.44
อันดับที่ 5 วิทยาศาสตร์ 15.38 7.38 11.38
อันดับที่ 6 ศิลปศึกษา 9.89 7.38 8.63
อันดับที่ 7 พลศึกษา 7.69 8.72 8.2
อันดับที่ 8 คอมพิวเตอร์ 2.2 7.05 4.63
อันดับที่ 9 นาฏศิลป์ 1.1 1.01 1.06
อันดับที่ 9 ดนตรี 1.1 1.01 1.06
* อื่น ๆ เช่น ภาษาญี่ปุ่น,ภาษาฝรั่งเศส,นิเทศศาสตร์ ฯลฯ 4.4 13.08 8.74
2. นักเรียน / นักศึกษาชอบเรียนวิชา “ภาษาไทย” หรือไม่ ?
นักเรียน นักศึกษา ภาพ
อันดับที่ 1 ค่อนข้างชอบ 39.13 33.23 36.18
เพราะ เป็นภาษาประจำชาติ,ใช้ในชีวิตประจำวัน ,ภาษามีความไพเราะ เข้าใจง่าย,ชอบเกี่ยวกับวรรณคดี ฯลฯ
อันดับที่ 2 ชอบ 29.35 34.82 32.08
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน, เป็นภาษาที่ควรอนุรักษ์ไว้ / เข้าใจง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยชอบ 17.39 18.35 17.87
เพราะ เป็นภาษาที่ยาก เป็นภาษาที่ดิ้นได้ , เป็นภาษาที่ต้องใช้ความจำมาก,อาจารย์สอนน่าเบื่อ ฯลฯ
อันดับที่ 4 เฉยๆ 9.78 8.54 9.16
เพราะ อาจารย์สอนไม่สนุก / เป็นภาษาที่ใช้ทุกวัน น่าเบื่อ / ไม่มีอะไรน่าสนใจ ฯลฯ
อันดับที่ 5 ไม่ชอบ 4.35 5.06 4.71
เพราะ เป็นภาษาที่ต้องใช้ความจำมาก, เป็นภาษาที่เราคุ้นเคยอยู่แล้ว, เป็นภาษาที่มีกฎเกณฑ์มาก ฯลฯ
3. นักเรียน / นักศึกษาให้ความสำคัญวิชา “ภาษาไทย” มากน้อยเพียงใด ?
นักเรียน นักศึกษา
อันดับที่ 1 สำคัญมาก 48.91 46.2 47.56
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน / เป็นภาษาประจำชาติ เอกลักษณ์วัฒนธรรมไทย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างสำคัญ 42.39 42.73 42.56
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน / เป็นภาษาประจำชาติที่ต้องศึกษาและเรียนรู้/เป็นวิชาที่น่าสนใจ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยสำคัญ 8.7 9.49 9.09
เพราะ ปัจจุบันภาษาไทยมีบทบาทน้อยกว่าภาษาสากล / เป็นภาษาที่คุ้นเคย และเป็นภาษาประจำชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่สำคัญ - 1.58 0.79
เพราะ เป็นวิชาที่น่าเบื่อ / ในยุค IT ภาษาไทยมีความสำคัญน้อยมาก / เป็นภาษาที่ต้องเรียนรู้อยู่แล้ว ฯลฯ
4. นักเรียน / นักศึกษาอยากให้ครู /อาจารย์ สอนวิชาภาษาไทยแบบใด
นักเรียน นักศึกษา ภาพรวม
อันดับที่ 1 สอนให้สนุก/ ไม่น่าเบื่อ (เหมือนครูลิลลี่) 56.74 27.45 42.09
อันดับที่ 2 คุณครูใจดี / น่ารัก / อารมณ์ดี 15.38 18.95 17.16
อันดับที่ 3 มีอุปกรณ์ในการสอนที่ทันสมัย 9.62 20.26 14.94
อันดับที่ 4 มีการสอนที่เข้าใจง่าย / เอาใจใส่นักเรียน / นักศึกษา 10.57 15.69 13.14
อันดับที่ 5 มีเทคนิคการสอนที่ดี / สอดแทรกความรู้ใหม่ ๆ 7.69 17.65 12.67
5. ทำอย่างไร ? วิชาภาษาไทย จึงน่าจะเรียนมากกว่านี้
นักเรียน นักศึกษา ภาพรวม
อันดับที่ 1 อาจารย์สอนให้สนุก / ไม่เครียด(เหมือนครูลิลลี่) 31.67 31.48 31.85
อันดับที่ 2 มีการจัดกิจกรรมการเรียนทั้งในและนอกสถานที่ให้มากขึ้น 31.94 34.26 29.62
อันดับที่ 3 สอนให้เข้าใจง่าย / มีเทคนิคการสอนที่เข้าใจง่าย 18.82 18.52 19.11
อันดับที่ 4 มีสื่อ / อุปกรณ์ที่ทันสมัยสอดคล้องเนื้อหา 5.34 4.63 6.05
อันดับที่ 5 ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย/ทันเหตุการณ์ 5.3 6.48 4.14
* อื่น ๆ เป็นคนที่ทันสมัย/ใจดี / บรรยากาศน่าเรียน ฯลฯ 6.93 4.63 9.23
6. ครู/ อาจารย์ /ผู้บริหาร ให้ความสำคัญ “วิชาภาษาไทย” มากน้อยเพียงใด ?
อันดับที่ 1 มากที่สุด 74.03
เพราะ เป็นภาษาประจำชาติ, เป็นสิ่งที่ควรอนุรักษ์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 มากพอสมควร 22.08
เพราะ เป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน, เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมากนัก 3.89
เพราะ ใช้กันมาตั้งแต่เกิด,เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันไม่ค่อยแตกต่าง ฯลฯ
7. ปัญหา การเรียนการสอน “วิชาภาษาไทย” ในทัศนะ ครู/ อาจารย์ /ผู้บริหาร
? ด้านผู้บริหาร
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยให้ความสำคัญ/ละเลยกับภาษาไทย 36.67
อันดับที่ 2 ขาดการวางแผน/การปฏิบัติ / การติดตามประเมินผลที่ดี 21.67
อันดับที่ 3 มุ่งพัฒนาด้านอื่นมากกว่า ไม่เน้นวิชาภาษาไทย 20.66
อันดับที่ 4 ให้ความสำคัญในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ภาษาไทยน้อยเกินไป 13.45
อันดับที่ 5 ยังไม่มีใครให้ความสำคัญกับหลักสูตรภาษาไทย 7.55
? ด้านผู้สอน
อันดับที่ 1 ขาดความรู้ความสามารถ /ความเข้าใจในภาษาไทยอย่างแท้จริง 39.51
อันดับที่ 2 ขาดความชำนาญ/ขาดเทคนิคการสอน การถ่ายทอดความรู้ที่ดี 34.57
อันดับที่ 3 ไม่มีการพัฒนาด้านสื่อการเรียนการสอนให้ทันสมัย 11.42
อันดับที่ 4 ไม่มีการสอนที่เน้นการอ่านออกเสียง / การเขียนภาษาไทยที่ถูกต้อง 8.15
อันดับที่ 5 ไม่มีการปลูกฝังให้เกิดความภูมิใจและรักในการใช้ภาษาไทย 6.35
? ด้านผู้เรียน
อันดับที่ 1 ผู้เรียนไม่เห็นความสำคัญของภาษาไทย 32.84
อันดับที่ 2 การเรียนภาษาไทยค่อนข้างน่าเบื่อ / ทำให้ผู้เรียนขาดความตั้งใจในการเรียน 25.37
อันดับที่ 3 หลักสูตรกว้างมากเกินไป , การปฏิบัติน้อย ขาดความชัดเจน 17.91
อันดับที่ 4 ขาดจิตสำนึกและความรู้ในด้านการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง 16.42
อันดับที่ 5 มีค่านิยมและความสนใจในการเรียนภาษาต่างประเทศมากกว่าภาษาไทย 7.46
? ด้านประชาชนทั่วไป
อันดับที่ 1 การใช้ภาษาไทยแบบผิดๆ ทั้งการพูด การเขียน และการตีความ 26.74
อันดับที่ 2 ไม่ให้ความสำคัญกับภาษาไทย แต่เน้นภาษาต่างประเทศมากกว่า 24.42
อันดับที่ 3 ไม่มีการปลูกฝังหรืออนุรักษ์ให้ใช้ภาษาไทยให้กับเยาวชนอย่างจริงจัง 19.68
อันดับที่ 4 เรียนเพื่อพอใช้กับชีวิตประจำวัน/ ไม่เห็นประโยชน์ที่แท้จริง 18.75
อันดับที่ 5 ขาดการร่วมมือในการดูแลรักษาและพัฒนาภาษาไทยจากทุกฝ่าย 10.41
8. การทำให้ “วิชาภาษาไทย” เป็นที่น่าสนใจของ นักเรียน/นักศึกษา ในทัศนะของ ครู/ อาจารย์ /ผู้บริหาร
อันดับที่ 1 ปลูกจิตสำนึกให้เยาวชนเห็นคุณค่าของภาษาไทย 25.38
อันดับที่ 2 เพิ่มเทคนิควิธีการสอน, สื่อ,เทคโนโลยีในการช่วยถ่ายทอดความรู้ 24.62
อันดับที่ 3 ปฏิรูป/ปรับปรุงการเรียนการสอน/หลักสูตร ให้ถูกต้องทั้งฟัง พูด อ่าน เขียน 23.84
อันดับที่ 4 รณรงค์อย่างต่อเนื่องและจริงจังในการอนุรักษ์ส่งเสริมภาษาและวรรณกรรมไทย 13.85
อันดับที่ 5 จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้ / และทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย 12.31
--สวนดุสิตโพล--