“ฟุตบอล” กีฬายอดฮิตถึง 71.53% ที่ประชาชนคิดว่าจะช่วยด้านยาเสพติดได้
“กีฬา” เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีผลต่อการ “ต่อต้านยาเสพติด” โดยเฉพาะการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้ห่างไกลจาก
“อบายมุข” และสิ่งเสพติดต่าง ๆ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพที่พักอาศัยใน
15 จังหวัด (กรุงเทพฯ อยุธยา สระบุรี นครสวรรค์ เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ อุบลราชธานี สกลนคร นครราชสีมา ชลบุรี เพชรบุรี
ประจวบคิรีขันธ์ นครศรีธรรมราช และสงขลา) จำนวน 3,744 คน ระหว่างวันที่ 20 มีนาคม - 2 เมษายน 2546 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนคิดว่า “กีฬา” ช่วยต่อต้าน “ยาเสพติด” ได้มากน้อยเพียงใด?
อันดับที่ 1 ค่อนข้างมาก 70.59%
เพราะ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์, ไม่หมกมุ่นในอบายมุข ฯลฯ
อันดับที่ 2 มาก 14.98%
เพราะ ผู้ที่สนใจกีฬาจะต่อต้านยาเสพติด, ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ค่อนข้างน้อย 11.03%
เพราะ ไม่ค่อยส่งเสริมกันจริงจัง, ทำแบบไฟไหม้ฟาง / ไม่ต่อเนื่อง ฯลฯ
อันดับที่ 4 น้อย 3.40%
เพราะ ไม่ทำกันจริงจัง, ยาเสพติดเป็นเรื่องผลประโยชน์แทรกซึมไปทุกที่ ฯลฯ
2. “กีฬา” ประเภทใดที่เหมาะสม / ควรจัดเพื่อต่อต้านยาเสพติด
อันดับที่ 1 ฟุตบอล 71.53%
เพราะ เป็นกีฬายอดฮิต, ชอบเล่น, เล่นง่าย, เล่นได้ทุกที่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 บาสเกตบอล 10.98%
เพราะ สนามไม่ใหญ่, เล่นง่าย, คนนิยมเล่น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ว่ายน้ำ 7.61%
เพราะ เหมาะกับการแข่งขัน, สนุก, ง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 4 เทนนิส 7.13%
เพราะ มีคนนิยมภราดรอยู่แล้ว, กำลังฮิต ฯลฯ
อื่น ๆ เช่น ตะกร้อ, กอล์ฟ ฯลฯ 2.75%
3. ปัญหา / อุปสรรคที่ไม่สามารถทำให้ “กีฬา” ต่อต้าน “ยาเสพติด” ได้สำเร็จ
อันดับที่ 1 ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจัง / ทำไม่ต่อเนื่อง / ไม่ค่อยให้ความสำคัญ 51.92%
อันดับที่ 2 ขาดงบประมาณสนับสนุน 24.60%
อันดับที่ 3 ขาดสนามกีฬา (มีแต่ใช้การไม่ค่อยได้ดี) / ขาดอุปกรณ์กีฬา 14.88%
อันดับที่ 4 ขาดผู้ฝึกสอน, หัวหน้าทีม, ผู้จัดการ / ผู้ดำเนินการ 5.21%
อันดับที่ 5 มีการแข่งขันกีฬาที่เน้นการเล่นพนัน / คำนึงถึงแพ้ชนะมากเกินไป 3.39%
4. ทำอย่างไร? “กีฬา” จึงจะช่วย “ต่อต้านยาเสพติด” ได้ผล
อันดับที่ 1 รัฐบาลต่อมีการดำเนินการอย่างจริงจัง / มีนโยบายชัดเจน 48.08%
อันดับที่ 2 นายกฯทักษิณต้องริเริ่ม / สั่งการ / กวดขันให้ดำเนินการ 32.51%
อันดับที่ 3 ต้องมีการจัดกีฬากระจายไปทุกอำเภอ / ทุกตำบล 9.94%
อันดับที่ 4 ให้ความสำคัญด้านการแข่งขันกีฬาเพื่อสุขภาพและการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 5.77%
* อื่น ๆ เช่น ใช้ตัวอย่างผู้ที่ประสบผลสำเร็จด้านกีฬา เช่น ภราดรเป็นต้นแบบ ฯลฯ 3.70%
--สวนดุสิตโพล--
“กีฬา” เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีผลต่อการ “ต่อต้านยาเสพติด” โดยเฉพาะการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้ห่างไกลจาก
“อบายมุข” และสิ่งเสพติดต่าง ๆ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพที่พักอาศัยใน
15 จังหวัด (กรุงเทพฯ อยุธยา สระบุรี นครสวรรค์ เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ อุบลราชธานี สกลนคร นครราชสีมา ชลบุรี เพชรบุรี
ประจวบคิรีขันธ์ นครศรีธรรมราช และสงขลา) จำนวน 3,744 คน ระหว่างวันที่ 20 มีนาคม - 2 เมษายน 2546 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนคิดว่า “กีฬา” ช่วยต่อต้าน “ยาเสพติด” ได้มากน้อยเพียงใด?
อันดับที่ 1 ค่อนข้างมาก 70.59%
เพราะ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์, ไม่หมกมุ่นในอบายมุข ฯลฯ
อันดับที่ 2 มาก 14.98%
เพราะ ผู้ที่สนใจกีฬาจะต่อต้านยาเสพติด, ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ค่อนข้างน้อย 11.03%
เพราะ ไม่ค่อยส่งเสริมกันจริงจัง, ทำแบบไฟไหม้ฟาง / ไม่ต่อเนื่อง ฯลฯ
อันดับที่ 4 น้อย 3.40%
เพราะ ไม่ทำกันจริงจัง, ยาเสพติดเป็นเรื่องผลประโยชน์แทรกซึมไปทุกที่ ฯลฯ
2. “กีฬา” ประเภทใดที่เหมาะสม / ควรจัดเพื่อต่อต้านยาเสพติด
อันดับที่ 1 ฟุตบอล 71.53%
เพราะ เป็นกีฬายอดฮิต, ชอบเล่น, เล่นง่าย, เล่นได้ทุกที่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 บาสเกตบอล 10.98%
เพราะ สนามไม่ใหญ่, เล่นง่าย, คนนิยมเล่น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ว่ายน้ำ 7.61%
เพราะ เหมาะกับการแข่งขัน, สนุก, ง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 4 เทนนิส 7.13%
เพราะ มีคนนิยมภราดรอยู่แล้ว, กำลังฮิต ฯลฯ
อื่น ๆ เช่น ตะกร้อ, กอล์ฟ ฯลฯ 2.75%
3. ปัญหา / อุปสรรคที่ไม่สามารถทำให้ “กีฬา” ต่อต้าน “ยาเสพติด” ได้สำเร็จ
อันดับที่ 1 ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจัง / ทำไม่ต่อเนื่อง / ไม่ค่อยให้ความสำคัญ 51.92%
อันดับที่ 2 ขาดงบประมาณสนับสนุน 24.60%
อันดับที่ 3 ขาดสนามกีฬา (มีแต่ใช้การไม่ค่อยได้ดี) / ขาดอุปกรณ์กีฬา 14.88%
อันดับที่ 4 ขาดผู้ฝึกสอน, หัวหน้าทีม, ผู้จัดการ / ผู้ดำเนินการ 5.21%
อันดับที่ 5 มีการแข่งขันกีฬาที่เน้นการเล่นพนัน / คำนึงถึงแพ้ชนะมากเกินไป 3.39%
4. ทำอย่างไร? “กีฬา” จึงจะช่วย “ต่อต้านยาเสพติด” ได้ผล
อันดับที่ 1 รัฐบาลต่อมีการดำเนินการอย่างจริงจัง / มีนโยบายชัดเจน 48.08%
อันดับที่ 2 นายกฯทักษิณต้องริเริ่ม / สั่งการ / กวดขันให้ดำเนินการ 32.51%
อันดับที่ 3 ต้องมีการจัดกีฬากระจายไปทุกอำเภอ / ทุกตำบล 9.94%
อันดับที่ 4 ให้ความสำคัญด้านการแข่งขันกีฬาเพื่อสุขภาพและการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 5.77%
* อื่น ๆ เช่น ใช้ตัวอย่างผู้ที่ประสบผลสำเร็จด้านกีฬา เช่น ภราดรเป็นต้นแบบ ฯลฯ 3.70%
--สวนดุสิตโพล--