การส่งเสริมให้เรียนฟรี เป็นกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อการขยายโอกาสทางการศึกษา ให้ทุกคนมีสิทธิ์ได้มีการ
ศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน แต่ก็ยังมีข้อถกเถียงว่า ควรจะจัดให้ระดับใด ระหว่าง “อนุบาล - ม.3” กับ “ประถม - ม.6”
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้ระดมความคิดเห็นของ“ผู้ปกครอง” ที่มีบุตรหลานเรียนอนุบาล ประถม ม.ต้น และ
ม.ปลาย “ครู/อาจารย์” และ “ประชาชนทั่วไป” ที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน 1,757 คน
(ผู้ปกครองเด็กอนุบาล 221 คน 12.57% ผู้ปกครองนักเรียนประถม 329 คน 18.73% ผู้ปกครองนักเรียนม.ต้น 227
คน 12.92% ผู้ปกครอง นักเรียน ม.ปลาย 252 คน 14.34% ครู/อาจารย์ 154 คน 8.76 % และ ประชาชนทั่วไป
574 คน 32.68% ระหว่างวันที่ 10 - 18 เมษายน 2546 สรุปผลได้ดังนี้
1. ระดับการศึกษาที่อยากให้รัฐบาลจัดให้เรียนฟรี คือ
ระดับการศึกษา ผู้ปกครองของนักเรียนระดับ ครู/อาจารย์ ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
อันดับที่ 1 ระดับประถม - ม.6 56.25% 69.15% 81.25% 73.61% 63.64% 64.93% 68.14%
เพราะ เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการทำงานมากขึ้น,เป็นช่วงที่มีค่าใช้จ่ายสูง,เป็นการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน,เป็นการพัฒนาระดับการศึกษา ฯลฯ
อันดับที่ 2 ระดับอนุบาล - ม.3 43.75% 30.85% 18.75% 26.39% 36.36% 35.07% 31.86%
เพราะ เป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนของเด็ก, ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง,เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ฯลฯ
2. สิ่งที่ “ผู้เกี่ยวข้อง” คิดว่าจะสามารถ “ช่วยรัฐบาลได้” หากรัฐบาล “จัดการศึกษาให้เรียนฟรี”
ผู้ปกครองของนักเรียนระดับ ครู/อาจารย์ ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
อันดับที่ 1 ช่วยส่งเสริม/สนับสนุน/สร้างความพร้อมให้กับเด็กในการศึกษา 55.38% 43.84% 44.45% 38.81% 38.46% 47.67% 44.77%
อันดับที่ 2 เสียภาษีอย่างเต็มที่/สนับสนุนด้านภาษีให้กับรัฐ เพราะต้องนำ
มาใช้ในการพัฒนาประเทศ 21.54% 19.18% 20.37% 28.36% 28.21% 29.07% 24.46%
อันดับที่ 3 ช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ หากรัฐบาลร้องขอในด้านการศึกษา 4.62% 15.07% 12.96% 17.91% 15.38% 10.46% 12.73%
อันดับที่ 4 ช่วยสนับสนุนรัฐบาลตามนโยบายและกิจกรรมต่างๆของรัฐบาล 7.69% 13.69% 12.96% 8.95% 10.26% 10.46% 10.66%
อันดับที่ 5 รัฐบาลควรออกมาพูดให้ชัดเจนก่อนถึงเงื่อนไขต่างๆ/ข้อกำหนดที่
จะได้รับการจัดการศึกษาให้เรียนฟรี 10.77% 8.22% 9.26% 5.97% 7.69% 2.34% 7.38%
3. “ความมั่นใจ” ต่อการจัดการศึกษาให้เรียนฟรี ของรัฐบาลทักษิณ
ผู้ปกครองของนักเรียนระดับ ครู/อาจารย์ ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
อันดับที่ 1 มั่นใจ 32.76% 32.97% 41.27% 37.31% 38.09% 29.55% 35.33%
เพราะ มั่นใจในรัฐบาลชุดนี้,มีผลงานที่ดีมากมาย, ผลงานมีประสิทธิภาพ,กล้าคิดกล้าทำ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมั่นใจ 39.66% 42.86% 31.75% 34.34% 28.57% 31.82% 34.83%
เพราะ รัฐบาลค่อนข้างมีประสิทธิภาพ, ตั้งใจทำงาน, น่าเชื่อถือกว่ารัฐบาลชุดอื่น, มีการทำโครงการต่างๆ
ให้เห็นอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมั่นใจ 17.24% 16.48% 20.63% 20.89% 23.81% 30.30% 21.56%
เพราะ ผลงานด้านการศึกษายังไม่เป็นรูปธรรม, ต้องใช้งบประมาณที่สูง,ควรเริ่มปรับที่มาตรฐานการศึกษาทุก
โรงเรียนให้เท่าเทียมก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มั่นใจ 10.34% 7.69% 6.35% 7.46% 9.53% 8.33% 8.28%
เพราะ อาจไม่เสียค่าเทอมแต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายอื่นๆที่แพงกว่า, ความทั่วถึงของโครงการ, อาจจะไม่ครอบ
คลุมทุกพื้นที่ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
ศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน แต่ก็ยังมีข้อถกเถียงว่า ควรจะจัดให้ระดับใด ระหว่าง “อนุบาล - ม.3” กับ “ประถม - ม.6”
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้ระดมความคิดเห็นของ“ผู้ปกครอง” ที่มีบุตรหลานเรียนอนุบาล ประถม ม.ต้น และ
ม.ปลาย “ครู/อาจารย์” และ “ประชาชนทั่วไป” ที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน 1,757 คน
(ผู้ปกครองเด็กอนุบาล 221 คน 12.57% ผู้ปกครองนักเรียนประถม 329 คน 18.73% ผู้ปกครองนักเรียนม.ต้น 227
คน 12.92% ผู้ปกครอง นักเรียน ม.ปลาย 252 คน 14.34% ครู/อาจารย์ 154 คน 8.76 % และ ประชาชนทั่วไป
574 คน 32.68% ระหว่างวันที่ 10 - 18 เมษายน 2546 สรุปผลได้ดังนี้
1. ระดับการศึกษาที่อยากให้รัฐบาลจัดให้เรียนฟรี คือ
ระดับการศึกษา ผู้ปกครองของนักเรียนระดับ ครู/อาจารย์ ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
อันดับที่ 1 ระดับประถม - ม.6 56.25% 69.15% 81.25% 73.61% 63.64% 64.93% 68.14%
เพราะ เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการทำงานมากขึ้น,เป็นช่วงที่มีค่าใช้จ่ายสูง,เป็นการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน,เป็นการพัฒนาระดับการศึกษา ฯลฯ
อันดับที่ 2 ระดับอนุบาล - ม.3 43.75% 30.85% 18.75% 26.39% 36.36% 35.07% 31.86%
เพราะ เป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนของเด็ก, ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง,เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ฯลฯ
2. สิ่งที่ “ผู้เกี่ยวข้อง” คิดว่าจะสามารถ “ช่วยรัฐบาลได้” หากรัฐบาล “จัดการศึกษาให้เรียนฟรี”
ผู้ปกครองของนักเรียนระดับ ครู/อาจารย์ ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
อันดับที่ 1 ช่วยส่งเสริม/สนับสนุน/สร้างความพร้อมให้กับเด็กในการศึกษา 55.38% 43.84% 44.45% 38.81% 38.46% 47.67% 44.77%
อันดับที่ 2 เสียภาษีอย่างเต็มที่/สนับสนุนด้านภาษีให้กับรัฐ เพราะต้องนำ
มาใช้ในการพัฒนาประเทศ 21.54% 19.18% 20.37% 28.36% 28.21% 29.07% 24.46%
อันดับที่ 3 ช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ หากรัฐบาลร้องขอในด้านการศึกษา 4.62% 15.07% 12.96% 17.91% 15.38% 10.46% 12.73%
อันดับที่ 4 ช่วยสนับสนุนรัฐบาลตามนโยบายและกิจกรรมต่างๆของรัฐบาล 7.69% 13.69% 12.96% 8.95% 10.26% 10.46% 10.66%
อันดับที่ 5 รัฐบาลควรออกมาพูดให้ชัดเจนก่อนถึงเงื่อนไขต่างๆ/ข้อกำหนดที่
จะได้รับการจัดการศึกษาให้เรียนฟรี 10.77% 8.22% 9.26% 5.97% 7.69% 2.34% 7.38%
3. “ความมั่นใจ” ต่อการจัดการศึกษาให้เรียนฟรี ของรัฐบาลทักษิณ
ผู้ปกครองของนักเรียนระดับ ครู/อาจารย์ ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
อันดับที่ 1 มั่นใจ 32.76% 32.97% 41.27% 37.31% 38.09% 29.55% 35.33%
เพราะ มั่นใจในรัฐบาลชุดนี้,มีผลงานที่ดีมากมาย, ผลงานมีประสิทธิภาพ,กล้าคิดกล้าทำ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมั่นใจ 39.66% 42.86% 31.75% 34.34% 28.57% 31.82% 34.83%
เพราะ รัฐบาลค่อนข้างมีประสิทธิภาพ, ตั้งใจทำงาน, น่าเชื่อถือกว่ารัฐบาลชุดอื่น, มีการทำโครงการต่างๆ
ให้เห็นอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมั่นใจ 17.24% 16.48% 20.63% 20.89% 23.81% 30.30% 21.56%
เพราะ ผลงานด้านการศึกษายังไม่เป็นรูปธรรม, ต้องใช้งบประมาณที่สูง,ควรเริ่มปรับที่มาตรฐานการศึกษาทุก
โรงเรียนให้เท่าเทียมก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มั่นใจ 10.34% 7.69% 6.35% 7.46% 9.53% 8.33% 8.28%
เพราะ อาจไม่เสียค่าเทอมแต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายอื่นๆที่แพงกว่า, ความทั่วถึงของโครงการ, อาจจะไม่ครอบ
คลุมทุกพื้นที่ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--