จากเหตุการณ์กลุ่มโจรก่อการร้ายทางภาคใต้ก่อความไม่สงบ โดยการลอบวางเพลิงโรงเรียน 20 แห่งทางภาคใต้
รวมไปถึงเหตุการณ์ลอบวางระเบิดและปล้นคลังอาวุธ ได้สร้างความหวาดกลัวให้กับประชาชนโดยเฉพาะ 3 จังหวัดทางภาคใต้
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความคิดเห็นของ “ตำรวจ” “ข้าราชการ” และ “ครู/อาจารย์” เฉพาะ
ในเขตภาคใต้เกี่ยวกับกรณีนี้ จำนวนทั้งสิ้น 768 คน ( ตำรวจ 216 คน 28.13%, ข้าราชการ 234 คน 30.46%,
และครู/อาจารย์ 318 คน 41.41% ) เกี่ยวกับความคิดเห็นต่อกรณีดังกล่าว โดยสำรวจระหว่างวันที่ 5-6 มกราคม 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. “ชาวใต้” ติดตามข่าวสถานการณ์ในภาคใต้อย่างไร?
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดตามตลอด 73.61% 43.42% 58.88% 58.64%
เพราะ เป็นเหตุการณ์ใกล้ตัวและเกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่โดยตรง,เป็นเรื่องที่น่าติดตามเพื่อให้เกิดความระมัดระวังตัว ฯลฯ
อันดับที่ 2 ติดตามบ้าง 25.00% 53.95% 40.19% 39.71%
เพราะ ต้องการทราบสถานการณ์ความคืบหน้า,เป็นคนที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง,ไม่มีเวลาต้องทำงาน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยได้ติดตาม 1.39% 2.63% 0.93% 1.65%
เพราะ เป็นเรื่องปกติมีการกระทำเป็นประจำ ฯลฯ
2. “ชาวใต้” คิดอย่างไร? ต่อเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในภาคใต้
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นเหตุการณ์ที่ไม่น่าจะเกิดขึ้นทำให้บ้านเมือง/
สังคมเกิดความเดือดร้อนวุ่นวาย 39.69% 32.07% 32.50% 34.75%
อันดับที่ 2 เป็นเรื่องปกติ/ปัญหาความไม่สงบทางภาคใต้
มีมานานแล้วและยังไม่มีใครสามารถแก้ไขได้ 15.87% 20.76% 16.25% 17.63%
อันดับที่ 3 เป็นเหตุการณ์ที่รุนแรง น่ากลัว/รู้สึกไม่มี
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 15.87% 22.64% 10.00% 16.17%
อันดับที่ 4 รู้สึกสงสาร/มีผู้ได้รับความเดือดร้อนจำนวนมาก
ทั้งครูอาจารย์/นักเรียน/เจ้าหน้าที่บ้านเมือง 15.87% 3.78% 21.25% 13.63%
อันดับที่ 5 เป็นการท้าทายและแสดงศักยภาพเพื่อ
สร้างผลงานในกลุ่มผู้ก่อการร้าย 6.35% 11.32% 10.00% 9.22%
* อื่นๆ เช่น เป็นความหละหลวม,ความประมาท/
การประสานงานยังไม่ดีพอ ฯลฯ 6.35% 9.43% 10.00% 8.60%
3. “ชาวใต้” คิดว่าสาเหตุของปัญหาในครั้งนี้ คือ
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการกระทำของกลุ่มคนที่ไม่หวังดีต่อประเทศชาติ 18.75% 44.45% 21.79% 28.33%
อันดับที่ 2 ความขัดแย้งทางความคิดทางด้านการเมือง 27.08% 13.33% 35.90% 25.43%
อันดับที่ 3 ทัศนคติที่ไม่ตรงกันระหว่างภาครัฐและประชาชน/
ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและศาสนา 39.58% 13.33% 17.95% 23.62%
อันดับที่ 4 ปัญหาเรื่องความขัดแย้งในการแบ่งแยกดินแดน 8.34% 17.78% 14.10% 13.41%
อันดับที่ 5 เป็นความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ 6.25% 11.11% 10.26% 9.21%
4. “ชาวใต้” คิดว่าวิธีแก้ไขปัญหาดังกล่าวควรทำอย่างไร?
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนกับภาครัฐ/
ลดช่องว่างทางวัฒนธรรม เกิดการร่วมมือที่ดีต่อกัน 35.94% 27.27% 39.71% 34.31%
อันดับที่ 2 รัฐบาลควรมีมาตรการในการปราบปราม
อย่างเด็ดขาด/มีการปฏิบัติอย่างเข้มงวด 10.94% 34.85% 23.53% 23.11%
อันดับที่ 3 ให้ความสำคัญกับปัญหาสถานการณ์ทางภาคใต้เป็นพิเศษ 32.81% 16.67% 14.71% 21.40%
อันดับที่ 4 ต้องมีการศึกษา วิเคราะห์ ทำความเข้าใจถึง
ปัญหาความไม่สงบทางภาคใต้ให้ตรงจุด 14.06% 15.15% 16.18% 15.12%
อันดับที่ 5 สร้างจิตสำนึก/สร้างความสามัคคีในประเทศ
ให้ซึมซับสู่เยาวชนมากขึ้น 6.25% 6.06% 5.87% 6.06%
5. สิ่งที่ “ชาวใต้” อยากฝากบอกกับ “รัฐบาล”
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากให้รัฐบาลเข้ามาจัดการปัญหา
ความไม่สงบในภาคใต้ให้เร็วที่สุด 42.65% 45.24% 19.44% 35.78%
อันดับที่ 2 มีการศึกษาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา/
เข้ามาดูแลในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงอย่างใกล้ชิด 6.67% 16.67% 33.34% 18.89%
อันดับที่ 3 เพิ่มมาตรการที่เด็ดขาดในการเฝ้าระวังและ
ดูแลสถานการณ์โดยรวมของภาคใต้ 13.34% 16.67% 13.89% 14.63%
อันดับที่ 4 ติดตามจับผู้กระทำความผิดมาลงโทษให้ได้โดยเร็ว 18.67% 4.76% 13.89% 12.45%
อันดับที่ 5 สร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติงานและประชาชน/
ไม่ใช้ความรุนแรงเพียงอย่างเดียว 14.67% 9.52% 9.72% 11.30%
* อื่นๆ เช่น ช่วยเหลือโรงเรียนที่ถูกลอบวางเพลิง,นายกฯ
ควรเก็บอารมณ์ไม่พูดในสิ่งที่เป็นการท้าทาย ฯลฯ 4.00% 7.14% 9.72% 6.95%
--สวนดุสิตโพล--
รวมไปถึงเหตุการณ์ลอบวางระเบิดและปล้นคลังอาวุธ ได้สร้างความหวาดกลัวให้กับประชาชนโดยเฉพาะ 3 จังหวัดทางภาคใต้
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความคิดเห็นของ “ตำรวจ” “ข้าราชการ” และ “ครู/อาจารย์” เฉพาะ
ในเขตภาคใต้เกี่ยวกับกรณีนี้ จำนวนทั้งสิ้น 768 คน ( ตำรวจ 216 คน 28.13%, ข้าราชการ 234 คน 30.46%,
และครู/อาจารย์ 318 คน 41.41% ) เกี่ยวกับความคิดเห็นต่อกรณีดังกล่าว โดยสำรวจระหว่างวันที่ 5-6 มกราคม 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. “ชาวใต้” ติดตามข่าวสถานการณ์ในภาคใต้อย่างไร?
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดตามตลอด 73.61% 43.42% 58.88% 58.64%
เพราะ เป็นเหตุการณ์ใกล้ตัวและเกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่โดยตรง,เป็นเรื่องที่น่าติดตามเพื่อให้เกิดความระมัดระวังตัว ฯลฯ
อันดับที่ 2 ติดตามบ้าง 25.00% 53.95% 40.19% 39.71%
เพราะ ต้องการทราบสถานการณ์ความคืบหน้า,เป็นคนที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง,ไม่มีเวลาต้องทำงาน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยได้ติดตาม 1.39% 2.63% 0.93% 1.65%
เพราะ เป็นเรื่องปกติมีการกระทำเป็นประจำ ฯลฯ
2. “ชาวใต้” คิดอย่างไร? ต่อเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในภาคใต้
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นเหตุการณ์ที่ไม่น่าจะเกิดขึ้นทำให้บ้านเมือง/
สังคมเกิดความเดือดร้อนวุ่นวาย 39.69% 32.07% 32.50% 34.75%
อันดับที่ 2 เป็นเรื่องปกติ/ปัญหาความไม่สงบทางภาคใต้
มีมานานแล้วและยังไม่มีใครสามารถแก้ไขได้ 15.87% 20.76% 16.25% 17.63%
อันดับที่ 3 เป็นเหตุการณ์ที่รุนแรง น่ากลัว/รู้สึกไม่มี
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 15.87% 22.64% 10.00% 16.17%
อันดับที่ 4 รู้สึกสงสาร/มีผู้ได้รับความเดือดร้อนจำนวนมาก
ทั้งครูอาจารย์/นักเรียน/เจ้าหน้าที่บ้านเมือง 15.87% 3.78% 21.25% 13.63%
อันดับที่ 5 เป็นการท้าทายและแสดงศักยภาพเพื่อ
สร้างผลงานในกลุ่มผู้ก่อการร้าย 6.35% 11.32% 10.00% 9.22%
* อื่นๆ เช่น เป็นความหละหลวม,ความประมาท/
การประสานงานยังไม่ดีพอ ฯลฯ 6.35% 9.43% 10.00% 8.60%
3. “ชาวใต้” คิดว่าสาเหตุของปัญหาในครั้งนี้ คือ
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการกระทำของกลุ่มคนที่ไม่หวังดีต่อประเทศชาติ 18.75% 44.45% 21.79% 28.33%
อันดับที่ 2 ความขัดแย้งทางความคิดทางด้านการเมือง 27.08% 13.33% 35.90% 25.43%
อันดับที่ 3 ทัศนคติที่ไม่ตรงกันระหว่างภาครัฐและประชาชน/
ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและศาสนา 39.58% 13.33% 17.95% 23.62%
อันดับที่ 4 ปัญหาเรื่องความขัดแย้งในการแบ่งแยกดินแดน 8.34% 17.78% 14.10% 13.41%
อันดับที่ 5 เป็นความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ 6.25% 11.11% 10.26% 9.21%
4. “ชาวใต้” คิดว่าวิธีแก้ไขปัญหาดังกล่าวควรทำอย่างไร?
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนกับภาครัฐ/
ลดช่องว่างทางวัฒนธรรม เกิดการร่วมมือที่ดีต่อกัน 35.94% 27.27% 39.71% 34.31%
อันดับที่ 2 รัฐบาลควรมีมาตรการในการปราบปราม
อย่างเด็ดขาด/มีการปฏิบัติอย่างเข้มงวด 10.94% 34.85% 23.53% 23.11%
อันดับที่ 3 ให้ความสำคัญกับปัญหาสถานการณ์ทางภาคใต้เป็นพิเศษ 32.81% 16.67% 14.71% 21.40%
อันดับที่ 4 ต้องมีการศึกษา วิเคราะห์ ทำความเข้าใจถึง
ปัญหาความไม่สงบทางภาคใต้ให้ตรงจุด 14.06% 15.15% 16.18% 15.12%
อันดับที่ 5 สร้างจิตสำนึก/สร้างความสามัคคีในประเทศ
ให้ซึมซับสู่เยาวชนมากขึ้น 6.25% 6.06% 5.87% 6.06%
5. สิ่งที่ “ชาวใต้” อยากฝากบอกกับ “รัฐบาล”
ตำรวจ ข้าราชการ ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากให้รัฐบาลเข้ามาจัดการปัญหา
ความไม่สงบในภาคใต้ให้เร็วที่สุด 42.65% 45.24% 19.44% 35.78%
อันดับที่ 2 มีการศึกษาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา/
เข้ามาดูแลในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงอย่างใกล้ชิด 6.67% 16.67% 33.34% 18.89%
อันดับที่ 3 เพิ่มมาตรการที่เด็ดขาดในการเฝ้าระวังและ
ดูแลสถานการณ์โดยรวมของภาคใต้ 13.34% 16.67% 13.89% 14.63%
อันดับที่ 4 ติดตามจับผู้กระทำความผิดมาลงโทษให้ได้โดยเร็ว 18.67% 4.76% 13.89% 12.45%
อันดับที่ 5 สร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติงานและประชาชน/
ไม่ใช้ความรุนแรงเพียงอย่างเดียว 14.67% 9.52% 9.72% 11.30%
* อื่นๆ เช่น ช่วยเหลือโรงเรียนที่ถูกลอบวางเพลิง,นายกฯ
ควรเก็บอารมณ์ไม่พูดในสิ่งที่เป็นการท้าทาย ฯลฯ 4.00% 7.14% 9.72% 6.95%
--สวนดุสิตโพล--