จากการเกิดสถานการณ์ก่อการร้ายในพื้นที่ภาคใต้ในช่วงสัปดาห์นี้ ทำให้เกิดความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้และทวีความรุนแรงมาก
ขึ้นเป็นระยะๆ ซึ่งล่าสุดมีข่าวว่ากรุงเทพฯเป็นเป้าหมาย 1 ใน 12 เป้าหมายที่กลุ่มโจรก่อการร้ายจะลงมือ ก่อความไม่สงบ
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น
1,230 คน (ชาย 528 คน 42.93% หญิง 702 คน 57.07%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 6 — 7 มกราคม 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. “คนกรุงเทพ” คิดว่ามีทางเป็นไปได้หรือไม่กรณีที่มีข่าวกรุงเทพฯเป็น 1 ในเป้าหมายของกลุ่มโจรก่อการร้าย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นไปได้ 45.31% 60.58% 52.94%
เพราะ กทม. เป็นเมืองหลวงของประเทศไทยและเป็นจุดศูนย์กลางของความเจริญ, มีสถานที่สำคัญทั้งของ
ประเทศไทยและต่างประเทศอยู่หลายแห่ง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.91% 22.63% 25.78%
เพราะ เป็นเพียงการสร้างสถานการณ์เท่านั้น, อะไรก็สามารถเกิดขึ้นได้ในสถานการณ์เช่นนี้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 เป็นไปไม่ได้ 25.78% 16.79% 21.28%
เพราะ มาตรการ/ระบบรักษาความปลอดภัยค่อนข้างรัดกุม, เป็นเพียงกระแสข่าวเรียกร้องความสนใจเท่านั้น ฯลฯ
2. จากข่าวดังกล่าวทำให้ “คนกรุงเทพฯ” รู้สึกกลัวหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่กลัว 66.34% 45.59% 55.96%
เพราะ มั่นใจในมาตรการรักษาความปลอดภัยของภาครัฐ, คิดว่ารัฐบาลคงไม่ปล่อยให้ประชาชนได้รับอันตราย ฯลฯ
อันดับที่ 2 กลัว 14.85% 41.18% 28.02%
เพราะ เป็นสถานการณ์ที่ไม่สามารถรู้ก่อนได้ว่าจะเกิดเหตุตรงไหน, อาจเกิดเหตุโดยไม่ทันตั้งตัวก็เป็นได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 18.81% 13.23% 16.02%
เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว, ยังไม่ควรตื่นตระหนกไปก่อน ฯลฯ
3. การระมัดระวังตัวของ “คนกรุงเทพฯ” จากข่าวดังกล่าวคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ปฏิบัติตนตามปกติแต่เพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น 56.79% 52.42% 54.60%
อันดับที่ 2 ไม่ไปในที่ๆ เป็นเป้าหมายของการวางระเบิด เช่น สถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน 23.46% 26.61% 25.04%
อันดับที่ 3 ติดตามสถานการณ์ข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรณีการก่อการร้ายตลอดเป็นระยะๆ 14.81% 6.45% 10.63%
อันดับที่ 4 คอยเป็นหูเป็นตาให้กับเจ้าหน้าที่บ้านเมือง หากพบพิรุธหรือสงสัยให้แจ้งเจ้าหน้าที่ 4.94% 14.52% 9.73%
4. “คนกรุงเทพฯ” เชื่อมั่นการรักษาความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ภาครัฐมากน้อยเพียงใด?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างเชื่อมั่น 43.14% 48.17% 45.66%
เพราะ เชื่อมั่นในระบบการรักษาความปลอดภัย, รัฐบาลมีมาตรการที่เฉียบขาด/รัดกุม ถ้าปล่อยให้เกิดขึ้น
อีกประเทศอาจเสียภาพพจน์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยเชื่อมั่น 27.45% 40.88% 34.17%
เพราะ การรักษาความปลอดภัยยังไม่ดีพอ, มีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง, ภาครัฐมีการทำงานที่ล่าช้า ฯลฯ
อันดับที่ 3 เชื่อมั่นมาก 22.55% 8.76% 15.66%
เพราะ นายกฯ ค่อนข้างให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นพิเศษ, รัฐบาลมีความเฉียบขาดดูแลประชาชนได้เป็นอย่างดี ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่เชื่อมั่นเลย 6.86% 2.19% 4.51%
เพราะ มีสถานการณ์แบบนี้เกิดขึ้นบ่อยจึงไม่ค่อยมั่นใจในด้านความปลอดภัย, ยังจับตัวผู้กระทำผิดไม่ได้ ฯลฯ
5. สิ่งที่ “คนกรุงเทพฯ” อยากให้ “รัฐบาล” ดำเนินการเกี่ยวกับโจรก่อการร้ายคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ใช้มาตรการขั้นเด็ดขาดในการปราบปรามโจรก่อการร้าย 47.06% 52.07% 49.56%
อันดับที่ 2 ใช้วิธีวิสามัญฆาตกรรม/จับตาย 34.32% 24.79% 29.56%
อันดับที่ 3 ควรหาวิธีการป้องกันตั้งแต่เนิ่นๆ ไม่ใช่เกิดเหตุแล้วจึงป้องกัน 12.74% 14.05% 13.40%
อันดับที่ 4 สร้างความมั่นใจในการรักษาความปลอดภัยให้กับประชาชน 5.88% 9.09% 7.48%
--สวนดุสิตโพล--
ขึ้นเป็นระยะๆ ซึ่งล่าสุดมีข่าวว่ากรุงเทพฯเป็นเป้าหมาย 1 ใน 12 เป้าหมายที่กลุ่มโจรก่อการร้ายจะลงมือ ก่อความไม่สงบ
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น
1,230 คน (ชาย 528 คน 42.93% หญิง 702 คน 57.07%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 6 — 7 มกราคม 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. “คนกรุงเทพ” คิดว่ามีทางเป็นไปได้หรือไม่กรณีที่มีข่าวกรุงเทพฯเป็น 1 ในเป้าหมายของกลุ่มโจรก่อการร้าย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นไปได้ 45.31% 60.58% 52.94%
เพราะ กทม. เป็นเมืองหลวงของประเทศไทยและเป็นจุดศูนย์กลางของความเจริญ, มีสถานที่สำคัญทั้งของ
ประเทศไทยและต่างประเทศอยู่หลายแห่ง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.91% 22.63% 25.78%
เพราะ เป็นเพียงการสร้างสถานการณ์เท่านั้น, อะไรก็สามารถเกิดขึ้นได้ในสถานการณ์เช่นนี้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 เป็นไปไม่ได้ 25.78% 16.79% 21.28%
เพราะ มาตรการ/ระบบรักษาความปลอดภัยค่อนข้างรัดกุม, เป็นเพียงกระแสข่าวเรียกร้องความสนใจเท่านั้น ฯลฯ
2. จากข่าวดังกล่าวทำให้ “คนกรุงเทพฯ” รู้สึกกลัวหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่กลัว 66.34% 45.59% 55.96%
เพราะ มั่นใจในมาตรการรักษาความปลอดภัยของภาครัฐ, คิดว่ารัฐบาลคงไม่ปล่อยให้ประชาชนได้รับอันตราย ฯลฯ
อันดับที่ 2 กลัว 14.85% 41.18% 28.02%
เพราะ เป็นสถานการณ์ที่ไม่สามารถรู้ก่อนได้ว่าจะเกิดเหตุตรงไหน, อาจเกิดเหตุโดยไม่ทันตั้งตัวก็เป็นได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 18.81% 13.23% 16.02%
เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว, ยังไม่ควรตื่นตระหนกไปก่อน ฯลฯ
3. การระมัดระวังตัวของ “คนกรุงเทพฯ” จากข่าวดังกล่าวคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ปฏิบัติตนตามปกติแต่เพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น 56.79% 52.42% 54.60%
อันดับที่ 2 ไม่ไปในที่ๆ เป็นเป้าหมายของการวางระเบิด เช่น สถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน 23.46% 26.61% 25.04%
อันดับที่ 3 ติดตามสถานการณ์ข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรณีการก่อการร้ายตลอดเป็นระยะๆ 14.81% 6.45% 10.63%
อันดับที่ 4 คอยเป็นหูเป็นตาให้กับเจ้าหน้าที่บ้านเมือง หากพบพิรุธหรือสงสัยให้แจ้งเจ้าหน้าที่ 4.94% 14.52% 9.73%
4. “คนกรุงเทพฯ” เชื่อมั่นการรักษาความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ภาครัฐมากน้อยเพียงใด?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างเชื่อมั่น 43.14% 48.17% 45.66%
เพราะ เชื่อมั่นในระบบการรักษาความปลอดภัย, รัฐบาลมีมาตรการที่เฉียบขาด/รัดกุม ถ้าปล่อยให้เกิดขึ้น
อีกประเทศอาจเสียภาพพจน์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยเชื่อมั่น 27.45% 40.88% 34.17%
เพราะ การรักษาความปลอดภัยยังไม่ดีพอ, มีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง, ภาครัฐมีการทำงานที่ล่าช้า ฯลฯ
อันดับที่ 3 เชื่อมั่นมาก 22.55% 8.76% 15.66%
เพราะ นายกฯ ค่อนข้างให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นพิเศษ, รัฐบาลมีความเฉียบขาดดูแลประชาชนได้เป็นอย่างดี ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่เชื่อมั่นเลย 6.86% 2.19% 4.51%
เพราะ มีสถานการณ์แบบนี้เกิดขึ้นบ่อยจึงไม่ค่อยมั่นใจในด้านความปลอดภัย, ยังจับตัวผู้กระทำผิดไม่ได้ ฯลฯ
5. สิ่งที่ “คนกรุงเทพฯ” อยากให้ “รัฐบาล” ดำเนินการเกี่ยวกับโจรก่อการร้ายคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ใช้มาตรการขั้นเด็ดขาดในการปราบปรามโจรก่อการร้าย 47.06% 52.07% 49.56%
อันดับที่ 2 ใช้วิธีวิสามัญฆาตกรรม/จับตาย 34.32% 24.79% 29.56%
อันดับที่ 3 ควรหาวิธีการป้องกันตั้งแต่เนิ่นๆ ไม่ใช่เกิดเหตุแล้วจึงป้องกัน 12.74% 14.05% 13.40%
อันดับที่ 4 สร้างความมั่นใจในการรักษาความปลอดภัยให้กับประชาชน 5.88% 9.09% 7.48%
--สวนดุสิตโพล--