จากภาวะน้ำท่วมกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลอย่างหนัก นับว่าเป็นมหันตภัยที่จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะสร้างความล้าบากให้กับประชาชนที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียงอย่างมาก เพื่อสะท้อนความคิดเห็นของประชาชน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นในขณะนี้ "สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้ส้ารวจความคิดเห็นของประชาชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียงที่ได้รับผลกระทบ ทั้งผู้ที่พักอาศัยในศูนย์พักพิง และตามบ้านเรือนต่างๆ จ้านวน 2,136 คน ระหว่างวันที่ 26 — 29 ตุลาคม 2554 สรุปผลได้ดังนี้
อันดับ 1 ไม่คาดคิดว่าจะท่วม 37.83%
เพราะ เป็นเมืองหลวง, เป็นเขตเศรษฐกิจ น่าจะป้องกันได้ ฯลฯ
อันดับ 2 ไม่แน่ใจ 33.57%
เพราะ ไม่ได้รับข้อมูลที่แท้จริง บางฝ่ายก็ว่าจะท่วม บางฝ่ายก็ว่าจะไม่ท่วม ฯลฯ
อันดับ 3 คาดว่าจะท่วม 28.60%
เพราะ มีปริมาณน้ำเป็นจ้านวนมาก และเกิดการท่วมในพื้นที่ต่างจังหวัดแล้ว, กรุงเทพฯ เป็นที่ลุ่ม มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ฯลฯ
อันดับ 1 ไม่อพยพ 68.07%
เพราะ ไม่อยากทิ้งบ้าน กลัวโจรขโมย, คิดว่าคงท่วมไม่มาก อยู่ที่บ้านน่าจะสบายกว่า, การอพยพเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก ฯลฯ
อันดับ 2 ไม่แน่ใจ 21.36%
เพราะ ขอดูระดับน้ำก่อน ว่าจะมีปริมาณมาก น้อยเพียงใด ฯลฯ
อันดับ 3 อพยพ 10.57%
เพราะ มีลูกหลานเป็นเด็กเล็ก, ป่วย สุขภาพไม่ดี, ไม่มีที่นอน, การเดินทางล้าบาก ฯลฯ
อันดับ 1 ข้อมูลสับสน ไม่ชัดเจน ขาดความน่าเชื่อถือ 37.27% อันดับ 2 ข้อมูลแต่ละหน่วยงาน / บุคคล มีความขัดแย้งกันเอง จนไม่รู้ว่าจะเชื่อข้อมูลจากหน่วยงาน / บุคคลใด 24.20% อันดับ 3 การประชาสัมพันธ์ยังไม่ทั่วถึง 19.34% อันดับ 4 ข้อมูลที่มีการน้าเสนอ ไม่ตรงกับข้อมูลที่ต้องการรู้ 12.92% อันดับ 5 ไม่มีข้อมูลจากผู้ที่รู้จริง จึงท้าให้เกิดความชะล่าใจ หรือ ตื่นตระหนกมากเกินไป 6.27% 4. ประชาชนมี ความมั่นใจ ต่อความช่วยเหลือในสถานการณ์น้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล จากฝ่ายใด? อันดับ 1 ทหาร 84.88%
เพราะ มีก้าลังพลมาก, มีเครื่องมืออุปกรณ์ ที่สามารถให้ความช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึง ฯลฯ
อันดับ 2 สื่อมวลชน 80.24%
เพราะ มีศักยภาพด้านการประชาสัมพันธ์ และการระดมสิ่งของต่างๆ เพื่อน้ามาช่วยเหลือผู้ประสบภัย ฯลฯ
อันดับ 3 รัฐบาล 71.11%
เพราะ นายกรัฐมนตรีเอาจริงเอาจัง ขยันลงพื้นที่ ฯลฯ
อันดับ 4 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร / เจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร 70.22%
เพราะ เป็นผู้รับผิดชอบกรุงเทพฯ โดยตรง ฯลฯ
อันดับ 5 เจ้าหน้าที่รัฐ / เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น 67.18%
เพราะ อยู่ในพื้นที่ประสบภัย เป็นหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ฯลฯ
อันดับ 6 อาสาสมัคร / มูลนิธิต่างๆ 66.15%
เพราะ มีความเสียสละ ฯลฯ 5. ประชาชน เห็นใจ ในความเสียสละเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล จากฝ่ายใดมากที่สุด ?
อันดับ 1 ทหาร 93.16% อันดับ 2 นายกรัฐมนตรี 91.06% อันดับ 3 สื่อมวลชน 88.48% อันดับ 4 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร / เจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร 73.97% อันดับ 5 เจ้าหน้าที่รัฐ / เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น 71.63% อันดับ 6 อาสาสมัคร / มูลนิธิต่างๆ 70.08% 6. ประชาชน ปฏิบัติตนอย่างไร ? ในการแก้ความเครียดจากภาวะน้ำท่วม อันดับ 1 ท้าใจให้สงบ / อดทน 43.82% อันดับ 2 พูดคุยกับเพื่อนบ้าน หรือ ผู้ที่อยู่ในศูนย์พักพิงด้วยกัน 22.80% อันดับ 3 ไม่หมกมุ่นกับข่าวสารน้ำท่วมมากเกินไป โดยเลือก ชม ฟัง อ่าน เฉพาะข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 18.87% อันดับ 4 ท้าตัวง่าย อยู่แบบพอเพียง ไม่เป็นภาระต่อผู้อื่น 9.97% อันดับ 5 อ่านหนังสือ ฟังเพลง พักผ่อน 4.54% 7. ประชาชน คาดว่ากรุงเทพฯ น่าจะพ้นจากวิกฤติน้ำท่วม โดยสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติได้เมื่อใด ? อันดับ 1 กลางเดือนพฤศจิกายน 36.56% อันดับ 2 ต้นเดือนพฤศจิกายน 24.53% อันดับ 3 ปลายเดือนพฤศจิกายน 20.18% อันดับ 4 ต้นเดือนธันวาคม 18.73% --สวนดุสิตโพลล์-- -พห-