จากที่มีโรคระบาดของไก่ซึ่งกำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ และส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคไก่ของประชาชน “สวนดุสิตโพล”
สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของ “ผู้ที่บริโภคไก่” และ “ไม่บริโภคไก่” ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,092 คน (ผู้ที่บริโภคไก่ 879 คน 80.49% ผู้ที่ไม่บริโภคไก่ 213 คน 19.51%) โดยสำรวจระหว่าง
วันที่ 19 — 21 มกราคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “กลุ่มตัวอย่าง” ติดตามข่าวเกี่ยวกับโรคไก่มากน้อยเพียงใด
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดตามบ้าง 53.24% 52.11% 52.67%
เพราะ เพื่อจะได้ทราบวิธีการป้องกัน,เป็นเรื่องใกล้ตัวและมีผลต่อการดำเนินชีวิต ฯลฯ
อันดับที่ 2 ติดตามตลอด 36.86% 28.17% 32.52%
เพราะ กำลังเป็นข่าวที่ได้รับความสนใจ,ส่งผลกระทบต่อการบริโภคของประชาชน,เป็นสิ่งที่ประชาชนควรทราบ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยได้ติดตาม 8.87% 11.27% 10.07%
เพราะ ปกติไม่ค่อยได้ทานไก่อยู่แล้ว,ไม่น่าจะมีปัญหากับประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่ติดตามเลย 1.03% 8.45% 4.74%
เพราะ ไม่ทานไก่,ไม่มีเวลาติดตามข่าว ฯลฯ
2. “กลุ่มตัวอย่าง” กลัวโรคของไก่ที่ตกเป็นข่าวอยู่ในขณะนี้หรือไม่?
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยกลัว 41.94% 39.44% 40.69%
เพราะ ไม่ได้ทานไก่อยู่แล้ว,คิดว่ามีการแก้ไขที่ดีรองรับอยู่แล้ว,รัฐบาลมีการป้องกันที่ดีอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างกลัว 33.56% 35.21% 34.38%
เพราะ มีอันตรายถึงชีวิต,ยังไม่สามารถหาข้อสรุปในเรื่องนี้ได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่กลัวเลย 12.42% 16.90% 14.67%
เพราะ ไม่ได้ทานไก่เป็นประจำ,อยู่ที่ตัวผู้บริโภคเองควรมีการป้องกันด้วย,เชื่อว่าคงไม่รุนแรง ฯลฯ
อันดับที่ 4 กลัวมาก 12.08% 8.45% 10.26%
เพราะ ทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อตัวเราได้,ข่าวออกมาค่อนข้างน่ากลัว ฯลฯ
3. “กลุ่มตัวอย่าง” เชื่อมั่นกับมาตรการในการป้องกันของรัฐบาลเกี่ยวกับโรคนี้มากน้อยเพียงใด
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างเชื่อมั่น 63.42% 52.94% 58.18%
เพราะ ภาครัฐมีมาตรการป้องกันดีอยู่แล้ว,เป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยเชื่อมั่น 20.81% 32.35% 26.58%
เพราะ มีการปกปิดข้อเท็จจริง,ยังหาข้อสรุปไม่ได้,ยังไม่มีมาตรการป้องกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เชื่อมั่นมาก 11.74% 5.88% 8.81%
เพราะ น่าจะป้องกันได้ดีอยู่แล้ว,ไก่เป็นสินค้าเศรษฐกิจของไทยคงต้องรีบแก้ไข,รัฐบาลมีความกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่เชื่อมั่นเลย 4.03% 8.83% 6.43%
เพราะ ไม่ทราบรายละเอียดที่ชัดเจน,ยังไม่มีการประชาสัมพันธ์ถึงวิธีการแก้ไขให้ทราบ ฯลฯ
4. จากข่าวนี้ทำให้ครอบครัวของ “กลุ่มตัวอย่าง” บริโภคไก่น้อยลงหรือไม่?
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 น้อยลง 60.75% 62.12% 61.43%
บริโภค เนื้อหมู,ปลา,กุ้ง,อาหารทะเล,ผัก,ผลไม้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เท่าเดิม 39.25% 37.88% 38.57%
เพราะ มั่นใจในมาตรการของรัฐบาล,บริโภคเป็นประจำอยู่แล้ว,ซื้อบริโภคจากแหล่งที่น่าเชื่อถือได้ ฯลฯ
5. สิ่งที่อยากให้ “รัฐบาล” ดำเนินการเกี่ยวกับกรณีนี้ คือ
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ออกมาชี้แจงและตอบข้อสงสัยของประชาชนให้ชัดเจน
และสอดคล้องกับข้อเท็จจริง/ไม่ควรปิดบังข้อมูล 34.48% 31.58% 33.03%
อันดับที่ 2 หาสาเหตุและรีบแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจังและเร็วที่สุด 28.21% 36.84% 32.52%
อันดับที่ 3 แนะนำวิธีการป้องกันและวิธีประกอบอาหารให้ปลอดภัยจากโรคนี้ 25.71% 14.04% 19.87%
อันดับที่ 4 มีการให้ความรู้และคำแนะนำที่ถูกต้องแก่ผู้ประกอบการ
เพื่อป้องกันไว้ก่อน 8.78% 10.53% 9.66%
อันดับที่ 5 ไม่ควรนำเสนอข่าวให้รุนแรง/ไม่ควรตื่นตระหนกมากเกินไป 2.82% 7.01% 4.92%
--สวนดุสิตโพล--
สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของ “ผู้ที่บริโภคไก่” และ “ไม่บริโภคไก่” ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,092 คน (ผู้ที่บริโภคไก่ 879 คน 80.49% ผู้ที่ไม่บริโภคไก่ 213 คน 19.51%) โดยสำรวจระหว่าง
วันที่ 19 — 21 มกราคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “กลุ่มตัวอย่าง” ติดตามข่าวเกี่ยวกับโรคไก่มากน้อยเพียงใด
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดตามบ้าง 53.24% 52.11% 52.67%
เพราะ เพื่อจะได้ทราบวิธีการป้องกัน,เป็นเรื่องใกล้ตัวและมีผลต่อการดำเนินชีวิต ฯลฯ
อันดับที่ 2 ติดตามตลอด 36.86% 28.17% 32.52%
เพราะ กำลังเป็นข่าวที่ได้รับความสนใจ,ส่งผลกระทบต่อการบริโภคของประชาชน,เป็นสิ่งที่ประชาชนควรทราบ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยได้ติดตาม 8.87% 11.27% 10.07%
เพราะ ปกติไม่ค่อยได้ทานไก่อยู่แล้ว,ไม่น่าจะมีปัญหากับประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่ติดตามเลย 1.03% 8.45% 4.74%
เพราะ ไม่ทานไก่,ไม่มีเวลาติดตามข่าว ฯลฯ
2. “กลุ่มตัวอย่าง” กลัวโรคของไก่ที่ตกเป็นข่าวอยู่ในขณะนี้หรือไม่?
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยกลัว 41.94% 39.44% 40.69%
เพราะ ไม่ได้ทานไก่อยู่แล้ว,คิดว่ามีการแก้ไขที่ดีรองรับอยู่แล้ว,รัฐบาลมีการป้องกันที่ดีอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างกลัว 33.56% 35.21% 34.38%
เพราะ มีอันตรายถึงชีวิต,ยังไม่สามารถหาข้อสรุปในเรื่องนี้ได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่กลัวเลย 12.42% 16.90% 14.67%
เพราะ ไม่ได้ทานไก่เป็นประจำ,อยู่ที่ตัวผู้บริโภคเองควรมีการป้องกันด้วย,เชื่อว่าคงไม่รุนแรง ฯลฯ
อันดับที่ 4 กลัวมาก 12.08% 8.45% 10.26%
เพราะ ทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อตัวเราได้,ข่าวออกมาค่อนข้างน่ากลัว ฯลฯ
3. “กลุ่มตัวอย่าง” เชื่อมั่นกับมาตรการในการป้องกันของรัฐบาลเกี่ยวกับโรคนี้มากน้อยเพียงใด
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างเชื่อมั่น 63.42% 52.94% 58.18%
เพราะ ภาครัฐมีมาตรการป้องกันดีอยู่แล้ว,เป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยเชื่อมั่น 20.81% 32.35% 26.58%
เพราะ มีการปกปิดข้อเท็จจริง,ยังหาข้อสรุปไม่ได้,ยังไม่มีมาตรการป้องกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เชื่อมั่นมาก 11.74% 5.88% 8.81%
เพราะ น่าจะป้องกันได้ดีอยู่แล้ว,ไก่เป็นสินค้าเศรษฐกิจของไทยคงต้องรีบแก้ไข,รัฐบาลมีความกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่เชื่อมั่นเลย 4.03% 8.83% 6.43%
เพราะ ไม่ทราบรายละเอียดที่ชัดเจน,ยังไม่มีการประชาสัมพันธ์ถึงวิธีการแก้ไขให้ทราบ ฯลฯ
4. จากข่าวนี้ทำให้ครอบครัวของ “กลุ่มตัวอย่าง” บริโภคไก่น้อยลงหรือไม่?
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 น้อยลง 60.75% 62.12% 61.43%
บริโภค เนื้อหมู,ปลา,กุ้ง,อาหารทะเล,ผัก,ผลไม้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เท่าเดิม 39.25% 37.88% 38.57%
เพราะ มั่นใจในมาตรการของรัฐบาล,บริโภคเป็นประจำอยู่แล้ว,ซื้อบริโภคจากแหล่งที่น่าเชื่อถือได้ ฯลฯ
5. สิ่งที่อยากให้ “รัฐบาล” ดำเนินการเกี่ยวกับกรณีนี้ คือ
บริโภคไก่ ไม่บริโภคไก่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ออกมาชี้แจงและตอบข้อสงสัยของประชาชนให้ชัดเจน
และสอดคล้องกับข้อเท็จจริง/ไม่ควรปิดบังข้อมูล 34.48% 31.58% 33.03%
อันดับที่ 2 หาสาเหตุและรีบแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจังและเร็วที่สุด 28.21% 36.84% 32.52%
อันดับที่ 3 แนะนำวิธีการป้องกันและวิธีประกอบอาหารให้ปลอดภัยจากโรคนี้ 25.71% 14.04% 19.87%
อันดับที่ 4 มีการให้ความรู้และคำแนะนำที่ถูกต้องแก่ผู้ประกอบการ
เพื่อป้องกันไว้ก่อน 8.78% 10.53% 9.66%
อันดับที่ 5 ไม่ควรนำเสนอข่าวให้รุนแรง/ไม่ควรตื่นตระหนกมากเกินไป 2.82% 7.01% 4.92%
--สวนดุสิตโพล--