แท็ก
สวนดุสิตโพล
ข่าวการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันของเด็กอาชีวะในทุกวันนี้มีให้เห็นกันบ่อยครั้ง ซึ่งก็ยังไม่มีใครหรือหน่วยงานใดที่จะสามารถ
แก้ไขปัญหานี้ได้ แม้กระทั่งโครงการ “สุภาพบุรุษอาชีวะ” ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎ สวนดุสิต
จึงได้สำรวจความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวะทั้งระดับ ปวช.และปวส. ในเขตกรุงเทพฯ จำนวนทั้งสิ้น 1,012 คน
(ระดับปวช. 372 คน 36.76% ระดับปวส. 640 คน 63.24%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 5 — 6 กุมภาพันธ์ 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. “เด็กอาชีวะ” คิดว่าปัญหาการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันที่เกิดขึ้นซ้ำซากเป็นเพราะสาเหตุใด
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 การปลูกฝังค่านิยมที่ผิดๆจากรุ่นพี่ที่มีมานานต่อเนื่องกัน 37.19% 45.24% 41.21%
อันดับที่ 2 ปัจจุบันวัยรุ่นมีอารมณ์ที่รุนแรง/มีความคึกคะนอง 19.83% 23.02% 21.42%
อันดับที่ 3 ต้องการทำตัวเป็นจุดเด่น 23.97% 9.52% 16.75%
อันดับที่ 4 ขาดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติตนเป็นนักเรียน/นักศึกษา 12.40% 14.29% 13.35%
อันดับที่ 5 เป็นการบาดหมางกันระหว่างบุคคล/เป็นความแค้นส่วนตัว
โดยอ้างสถาบันมาเกี่ยวข้อง 6.61% 7.93% 7.27%
2. วิธีแก้ปัญหาดังกล่าวในทัศนะของ “เด็กอาชีวะ” คือ
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพิ่มบทลงโทษทางกฎหมายแก่ผู้กระทำความผิดให้มากขึ้น 34.21% 38.54% 36.37%
อันดับที่ 2 จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ร่วมกันระหว่างสถาบันเพื่อสร้างมิตรภาพ 35.53% 22.92% 29.23%
อันดับที่ 3 เร่งสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับผู้เรียน 15.79% 18.75% 17.27%
อันดับที่ 4 ปรับเปลี่ยนชุดเครื่องแบบให้เหมือนกัน 7.89% 13.54% 10.72%
อันดับที่ 5 แก้ไขได้ยากเพราะเป็นปัญหาที่เรื้อรังมานาน 6.58% 6.25% 6.41%
3. จากการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันในงาน “สุภาพบุรุษอาชีวะ” คิดว่าสะท้อนให้เห็นอะไรบ้าง
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 ภาครัฐยังแก้ไขปัญหาของเด็กอาชีวะได้ไม่ตรงจุด 24.59% 26.58% 25.58%
อันดับที่ 2 ไม่สามารถจะเปลี่ยนพฤติกรรมและภาพลักษณ์ของเด็กอาชีวะ 26.23% 20.25% 23.24%
อันดับที่ 3 แสดงให้เห็นว่าเด็กอาชีวะบางคนยังไม่มีความคิด/
ชอบใช้ความรุนแรงในการตัดสินใจ 18.03% 27.85% 22.94%
อันดับที่ 4 เป็นค่านิยมที่ผิดๆที่ถูกปลูกฝังกันมานาน 22.95% 13.92% 18.44%
อันดับที่ 5 วิธีการในการเอาผิดกับผู้กระทำผิดยังไม่เด็ดขาดเพียงพอ 8.20% 11.40% 9.80%
4. “เด็กอาชีวะ” เรื่องของ “ศักดิ์ศรีของสถาบัน” มีอิทธิพลต่อการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันมากน้อยเพียงใด
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีอิทธิพลมาก 71.23% 66.28% 68.76%
เพราะ เด็กอาชีวะบางกลุ่มคิดว่าศักดิ์ศรีเป็นเรื่องสำคัญ,ไม่ต้องการให้ใครมาดูถูกสถาบันของตน,รักสถาบันในทางที่ผิด ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมีอิทธิพล 22.64% 30.23% 26.43%
เพราะ เป็นการปลูกฝังจากรุ่นสู่รุ่น,ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกันถือว่าเป็นการดูถูกและเหยียดหยามกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมีอิทธิพล 3.77% 2.33% 3.05%
เพราะ เป็นแค่ข้ออ้าง,เกิดจากอารมณ์ที่รุนแรงและความคึกคะนอง ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มีอิทธิพล 2.36% 1.16% 1.76%
เพราะ ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับทางสถาบัน,เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลมากกว่า ฯลฯ
5. “เด็กอาชีวะ” เรื่องของ “อารมณ์” มีอิทธิพลต่อการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันมากน้อยเพียงใด
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีอิทธิพลมาก 71.87% 65.12% 68.49%
เพราะ อารมณ์มักเป็นต้นเหตุของปัญหา,มีสิ่งยั่วยุต่างๆทำให้ขาดการใช้สติไตร่ตรอง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมีอิทธิพล 19.20% 26.74% 22.97%
เพราะ วัยรุ่นอารมณ์ร้อน,มักใช้อารมณ์และกำลังในการตัดสินปัญหา,ไม่รู้จักการยับยั้งอารมณ์ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมีอิทธิพล 7.14% 6.98% 7.06%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์,ส่วนใหญ่เป็นการชักจูงจากเพื่อน ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มีอิทธิพล 1.79% 1.16% 1.48%
เพราะ สามารถระบายออกทางอื่นได้เช่น การเล่นกีฬา,ออกกำลังกาย,การทำกิจกรรมที่มีประโยชน์ ฯลฯ
6. ความในใจของ “เด็กอาชีวะ” ที่อยากจะบอกกับผู้ที่เกี่ยวข้อง คือ
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรมีจิตสำนึกเลิกทะเลาะวิวาทเพื่อจะได้ไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น 18.92% 28.44% 23.68%
อันดับที่ 2 การแก้ไขปัญหาของภาครัฐยังไม่ตรงจุด/ยังไม่เกิดความร่วมมือกันของทุกฝ่าย 21.62% 19.27% 20.45%
อันดับที่ 3 ควรมีการจัดการขั้นเด็ดขาดกับผู้ที่กระทำความผิด
เพื่อความสงบสุขและปลอดภัยของประชาชน 15.32% 22.93% 19.13%
อันดับที่ 4 ไม่ต้องการให้มองเด็กอาชีวะว่าไม่ดีไปซะทุกคนเพราะผู้ที่กระทำ
ความผิดถือว่าเป็นส่วนน้อยเมื่อเทียบกับผู้ที่ตั้งใจเรียน 20.72% 17.43% 19.07%
อันดับที่ 5 สร้างความสามัคคีในกลุ่มของโรงเรียนอาชีวะ/สร้างมิตรภาพ
ให้เกิดขึ้นในหมู่เด็กอาชีวะ 23.42% 11.93% 17.67%
--สวนดุสิตโพล--
แก้ไขปัญหานี้ได้ แม้กระทั่งโครงการ “สุภาพบุรุษอาชีวะ” ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎ สวนดุสิต
จึงได้สำรวจความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวะทั้งระดับ ปวช.และปวส. ในเขตกรุงเทพฯ จำนวนทั้งสิ้น 1,012 คน
(ระดับปวช. 372 คน 36.76% ระดับปวส. 640 คน 63.24%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 5 — 6 กุมภาพันธ์ 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. “เด็กอาชีวะ” คิดว่าปัญหาการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันที่เกิดขึ้นซ้ำซากเป็นเพราะสาเหตุใด
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 การปลูกฝังค่านิยมที่ผิดๆจากรุ่นพี่ที่มีมานานต่อเนื่องกัน 37.19% 45.24% 41.21%
อันดับที่ 2 ปัจจุบันวัยรุ่นมีอารมณ์ที่รุนแรง/มีความคึกคะนอง 19.83% 23.02% 21.42%
อันดับที่ 3 ต้องการทำตัวเป็นจุดเด่น 23.97% 9.52% 16.75%
อันดับที่ 4 ขาดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติตนเป็นนักเรียน/นักศึกษา 12.40% 14.29% 13.35%
อันดับที่ 5 เป็นการบาดหมางกันระหว่างบุคคล/เป็นความแค้นส่วนตัว
โดยอ้างสถาบันมาเกี่ยวข้อง 6.61% 7.93% 7.27%
2. วิธีแก้ปัญหาดังกล่าวในทัศนะของ “เด็กอาชีวะ” คือ
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพิ่มบทลงโทษทางกฎหมายแก่ผู้กระทำความผิดให้มากขึ้น 34.21% 38.54% 36.37%
อันดับที่ 2 จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ร่วมกันระหว่างสถาบันเพื่อสร้างมิตรภาพ 35.53% 22.92% 29.23%
อันดับที่ 3 เร่งสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับผู้เรียน 15.79% 18.75% 17.27%
อันดับที่ 4 ปรับเปลี่ยนชุดเครื่องแบบให้เหมือนกัน 7.89% 13.54% 10.72%
อันดับที่ 5 แก้ไขได้ยากเพราะเป็นปัญหาที่เรื้อรังมานาน 6.58% 6.25% 6.41%
3. จากการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันในงาน “สุภาพบุรุษอาชีวะ” คิดว่าสะท้อนให้เห็นอะไรบ้าง
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 ภาครัฐยังแก้ไขปัญหาของเด็กอาชีวะได้ไม่ตรงจุด 24.59% 26.58% 25.58%
อันดับที่ 2 ไม่สามารถจะเปลี่ยนพฤติกรรมและภาพลักษณ์ของเด็กอาชีวะ 26.23% 20.25% 23.24%
อันดับที่ 3 แสดงให้เห็นว่าเด็กอาชีวะบางคนยังไม่มีความคิด/
ชอบใช้ความรุนแรงในการตัดสินใจ 18.03% 27.85% 22.94%
อันดับที่ 4 เป็นค่านิยมที่ผิดๆที่ถูกปลูกฝังกันมานาน 22.95% 13.92% 18.44%
อันดับที่ 5 วิธีการในการเอาผิดกับผู้กระทำผิดยังไม่เด็ดขาดเพียงพอ 8.20% 11.40% 9.80%
4. “เด็กอาชีวะ” เรื่องของ “ศักดิ์ศรีของสถาบัน” มีอิทธิพลต่อการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันมากน้อยเพียงใด
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีอิทธิพลมาก 71.23% 66.28% 68.76%
เพราะ เด็กอาชีวะบางกลุ่มคิดว่าศักดิ์ศรีเป็นเรื่องสำคัญ,ไม่ต้องการให้ใครมาดูถูกสถาบันของตน,รักสถาบันในทางที่ผิด ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมีอิทธิพล 22.64% 30.23% 26.43%
เพราะ เป็นการปลูกฝังจากรุ่นสู่รุ่น,ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกันถือว่าเป็นการดูถูกและเหยียดหยามกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมีอิทธิพล 3.77% 2.33% 3.05%
เพราะ เป็นแค่ข้ออ้าง,เกิดจากอารมณ์ที่รุนแรงและความคึกคะนอง ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มีอิทธิพล 2.36% 1.16% 1.76%
เพราะ ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับทางสถาบัน,เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลมากกว่า ฯลฯ
5. “เด็กอาชีวะ” เรื่องของ “อารมณ์” มีอิทธิพลต่อการตีกัน/ทะเลาะวิวาทกันมากน้อยเพียงใด
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีอิทธิพลมาก 71.87% 65.12% 68.49%
เพราะ อารมณ์มักเป็นต้นเหตุของปัญหา,มีสิ่งยั่วยุต่างๆทำให้ขาดการใช้สติไตร่ตรอง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมีอิทธิพล 19.20% 26.74% 22.97%
เพราะ วัยรุ่นอารมณ์ร้อน,มักใช้อารมณ์และกำลังในการตัดสินปัญหา,ไม่รู้จักการยับยั้งอารมณ์ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมีอิทธิพล 7.14% 6.98% 7.06%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์,ส่วนใหญ่เป็นการชักจูงจากเพื่อน ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มีอิทธิพล 1.79% 1.16% 1.48%
เพราะ สามารถระบายออกทางอื่นได้เช่น การเล่นกีฬา,ออกกำลังกาย,การทำกิจกรรมที่มีประโยชน์ ฯลฯ
6. ความในใจของ “เด็กอาชีวะ” ที่อยากจะบอกกับผู้ที่เกี่ยวข้อง คือ
ปวช. ปวส. ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรมีจิตสำนึกเลิกทะเลาะวิวาทเพื่อจะได้ไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น 18.92% 28.44% 23.68%
อันดับที่ 2 การแก้ไขปัญหาของภาครัฐยังไม่ตรงจุด/ยังไม่เกิดความร่วมมือกันของทุกฝ่าย 21.62% 19.27% 20.45%
อันดับที่ 3 ควรมีการจัดการขั้นเด็ดขาดกับผู้ที่กระทำความผิด
เพื่อความสงบสุขและปลอดภัยของประชาชน 15.32% 22.93% 19.13%
อันดับที่ 4 ไม่ต้องการให้มองเด็กอาชีวะว่าไม่ดีไปซะทุกคนเพราะผู้ที่กระทำ
ความผิดถือว่าเป็นส่วนน้อยเมื่อเทียบกับผู้ที่ตั้งใจเรียน 20.72% 17.43% 19.07%
อันดับที่ 5 สร้างความสามัคคีในกลุ่มของโรงเรียนอาชีวะ/สร้างมิตรภาพ
ให้เกิดขึ้นในหมู่เด็กอาชีวะ 23.42% 11.93% 17.67%
--สวนดุสิตโพล--