นับตั้งแต่เกิดความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เกิดขึ้นมาเป็นระยะเวลายาวนานนั้นและเป็นปัญหาเรื้อรังที่ยังไม่มี
ใครจัดการได้ รวมไปถึงยังส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วย “สวนดุสิตโพล” สถาบัน
ราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวนทั้งสิ้น 1,291 คน
(ปัตตานี 431 คน 33.38% ยะลา 412 คน 31.91% นราธิวาส 448 คน 34.71%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 20 - 25 กุมภาพันธ์ 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ผลกระทบในปัจจุบันที่ “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” ได้รับเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่สงบทางภาคใต้ คือ
- ผลกระทบ “ด้านการดำรงชีวิต”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่กล้าออกจากบ้านถ้าไม่มีความจำเป็นในช่วงเวลาเย็น 52.11% 67.19% 33.33% 50.88%
อันดับที่ 2 ต้องระมัดระวังตัวอยู่ตลอดเวลาในการเดินทาง 29.58% 25.00% 51.85% 35.48%
อันดับที่ 3 ไม่มีความมั่นใจในเรื่องของความปลอดภัยในการเดินทาง 18.31% 7.81% 14.82% 13.64%
- ผลกระทบ “ด้านการประกอบอาชีพ”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค้าขายไม่ค่อยดี/รายได้ลดลง 36.76% 61.70% 56.14% 51.53%
อันดับที่ 2 ไม่กล้าออกไปทำงานในช่วงเช้ามืด/รายได้ลดลง 33.82% 27.65% 15.78% 25.75%
อันดับที่ 3 ไม่สามารถเข้าไปทำงานในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงได้ 29.42% 10.65% 28.08% 22.72%
- ผลกระทบ “ต่อสภาพจิตใจ”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 เกิดความหวาดกลัว หวาดระแวงมากขึ้นในการดำรงชีวิต 56.06% 63.26% 32.65% 50.66%
อันดับที่ 2 สภาพจิตใจแย่มาก/หวาดกลัวไปหมดเพราะไม่รู้ว่าใครเป็นใคร 31.82% 22.45% 48.97% 34.41%
อันดับที่ 3 ขาดความมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตทั้งของตนเองและครอบครัว 12.12% 14.29% 18.38% 14.93%
2. “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” มีความเครียดต่อเหตุการณ์ความไม่สงบในภาคใต้เพิ่มหรือน้อยลงหรือไม่?
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความเครียดเพิ่มขึ้น 57.85% 50.88% 44.83% 51.19%
เพราะ มีเหตุการณ์ที่รุนแรงเกิดขึ้นทุกวันและไม่มีความปลอดภัยเลย,มีการฆ่ากันทุกวัน,เกิดความหวาดระแวงมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ความเครียดเท่าเดิม 29.75% 35.09% 36.21% 33.68%
เพราะ ไม่รู้ว่าเหตุการณ์ไหนจริงหรือไม่จริง,มีข่าวออกมาไม่เว้นแต่ละวัน,พยายามไม่ตื่นตระหนกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ความเครียดน้อยลง 12.40% 14.03% 18.96% 15.13%
เพราะ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจนกลายเป็นความเคยชิน,มีการเข้ามาดูจากภาครัฐมากขึ้น ฯลฯ
3. “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” มีวิธีคลายเครียดต่อเหตุการณ์ไม่สงบทางภาคใต้อย่างไร?
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 พยายามไม่รับรู้เกี่ยวกับข่าวสารต่างๆของภาคใต้/ทำตัวปกติ 40.85% 25.81% 51.52% 39.39%
อันดับที่ 2 ไม่พยายามออกจากบ้าน/อยู่กับครอบครัว 40.85% 16.13% 27.27% 28.08%
อันดับที่ 3 ฟังเพลง ดูโทรทัศน์ /หาความบันเทิงช่วยผ่อนคลาย 11.26% 51.61% 9.08% 23.99%
อันดับที่ 4 พบปะเพื่อนฝูงเพื่อปรึกษาหารือ 7.04% 6.45% 12.12% 8.54%
4. วิถีชีวิต/การใช้ชีวิตในช่วงที่มีความไม่สงบทางภาคใต้ของ “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้”
แตกต่างไปจากเดิมหรือไม่?
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 แตกต่าง 78.15% 78.33% 70.69% 75.72%
เพราะ ใช้ชีวิตประจำวันด้วยความหวาดระแวงและระมัดระวังตัวมากขึ้น,ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิตฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แตกต่าง 21.85% 21.67% 29.31% 24.28%
เพราะ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมากจนกลายเป็นความเคยชินไปแล้ว,ดำเนินชีวิตเป็นปกติแต่เพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น ฯลฯ
5. ความในใจของ “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” ที่อยากจะฝากบอกกับ “รัฐบาล”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้รีบช่วยแก้ไขปัญหาทางภาคใต้โดยด่วนที่สุดเพื่อความสงบ
และปลอดภัยของประชาชนในพื้นที่ 63.74% 44.23% 26.41% 44.79%
อันดับที่ 2 ควรเร่งนำตัวผู้ที่กระทำผิดมาลงโทษโดยเร็ว 19.78% 17.31% 28.30% 21.79%
อันดับที่ 3 รัฐบาลต้องให้ความจริงจังในการปราบปรามให้มากขึ้น/
เพิ่มความเด็ดขาด 4.39% 23.07% 37.73% 21.73%
อันดับที่ 4 เร่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทางภาคใต้ให้ดีขึ้น 7.69% 9.62% 5.66% 7.66%
อันดับที่ 5 อยากให้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีแก่ชาวไทยทั้งพุทธและมุสลิม 4.40% 5.77% 1.90% 4.03%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ใครจัดการได้ รวมไปถึงยังส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วย “สวนดุสิตโพล” สถาบัน
ราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวนทั้งสิ้น 1,291 คน
(ปัตตานี 431 คน 33.38% ยะลา 412 คน 31.91% นราธิวาส 448 คน 34.71%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 20 - 25 กุมภาพันธ์ 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ผลกระทบในปัจจุบันที่ “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” ได้รับเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่สงบทางภาคใต้ คือ
- ผลกระทบ “ด้านการดำรงชีวิต”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่กล้าออกจากบ้านถ้าไม่มีความจำเป็นในช่วงเวลาเย็น 52.11% 67.19% 33.33% 50.88%
อันดับที่ 2 ต้องระมัดระวังตัวอยู่ตลอดเวลาในการเดินทาง 29.58% 25.00% 51.85% 35.48%
อันดับที่ 3 ไม่มีความมั่นใจในเรื่องของความปลอดภัยในการเดินทาง 18.31% 7.81% 14.82% 13.64%
- ผลกระทบ “ด้านการประกอบอาชีพ”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค้าขายไม่ค่อยดี/รายได้ลดลง 36.76% 61.70% 56.14% 51.53%
อันดับที่ 2 ไม่กล้าออกไปทำงานในช่วงเช้ามืด/รายได้ลดลง 33.82% 27.65% 15.78% 25.75%
อันดับที่ 3 ไม่สามารถเข้าไปทำงานในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงได้ 29.42% 10.65% 28.08% 22.72%
- ผลกระทบ “ต่อสภาพจิตใจ”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 เกิดความหวาดกลัว หวาดระแวงมากขึ้นในการดำรงชีวิต 56.06% 63.26% 32.65% 50.66%
อันดับที่ 2 สภาพจิตใจแย่มาก/หวาดกลัวไปหมดเพราะไม่รู้ว่าใครเป็นใคร 31.82% 22.45% 48.97% 34.41%
อันดับที่ 3 ขาดความมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตทั้งของตนเองและครอบครัว 12.12% 14.29% 18.38% 14.93%
2. “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” มีความเครียดต่อเหตุการณ์ความไม่สงบในภาคใต้เพิ่มหรือน้อยลงหรือไม่?
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความเครียดเพิ่มขึ้น 57.85% 50.88% 44.83% 51.19%
เพราะ มีเหตุการณ์ที่รุนแรงเกิดขึ้นทุกวันและไม่มีความปลอดภัยเลย,มีการฆ่ากันทุกวัน,เกิดความหวาดระแวงมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ความเครียดเท่าเดิม 29.75% 35.09% 36.21% 33.68%
เพราะ ไม่รู้ว่าเหตุการณ์ไหนจริงหรือไม่จริง,มีข่าวออกมาไม่เว้นแต่ละวัน,พยายามไม่ตื่นตระหนกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ความเครียดน้อยลง 12.40% 14.03% 18.96% 15.13%
เพราะ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจนกลายเป็นความเคยชิน,มีการเข้ามาดูจากภาครัฐมากขึ้น ฯลฯ
3. “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” มีวิธีคลายเครียดต่อเหตุการณ์ไม่สงบทางภาคใต้อย่างไร?
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 พยายามไม่รับรู้เกี่ยวกับข่าวสารต่างๆของภาคใต้/ทำตัวปกติ 40.85% 25.81% 51.52% 39.39%
อันดับที่ 2 ไม่พยายามออกจากบ้าน/อยู่กับครอบครัว 40.85% 16.13% 27.27% 28.08%
อันดับที่ 3 ฟังเพลง ดูโทรทัศน์ /หาความบันเทิงช่วยผ่อนคลาย 11.26% 51.61% 9.08% 23.99%
อันดับที่ 4 พบปะเพื่อนฝูงเพื่อปรึกษาหารือ 7.04% 6.45% 12.12% 8.54%
4. วิถีชีวิต/การใช้ชีวิตในช่วงที่มีความไม่สงบทางภาคใต้ของ “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้”
แตกต่างไปจากเดิมหรือไม่?
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 แตกต่าง 78.15% 78.33% 70.69% 75.72%
เพราะ ใช้ชีวิตประจำวันด้วยความหวาดระแวงและระมัดระวังตัวมากขึ้น,ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิตฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แตกต่าง 21.85% 21.67% 29.31% 24.28%
เพราะ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมากจนกลายเป็นความเคยชินไปแล้ว,ดำเนินชีวิตเป็นปกติแต่เพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น ฯลฯ
5. ความในใจของ “ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” ที่อยากจะฝากบอกกับ “รัฐบาล”
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้รีบช่วยแก้ไขปัญหาทางภาคใต้โดยด่วนที่สุดเพื่อความสงบ
และปลอดภัยของประชาชนในพื้นที่ 63.74% 44.23% 26.41% 44.79%
อันดับที่ 2 ควรเร่งนำตัวผู้ที่กระทำผิดมาลงโทษโดยเร็ว 19.78% 17.31% 28.30% 21.79%
อันดับที่ 3 รัฐบาลต้องให้ความจริงจังในการปราบปรามให้มากขึ้น/
เพิ่มความเด็ดขาด 4.39% 23.07% 37.73% 21.73%
อันดับที่ 4 เร่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทางภาคใต้ให้ดีขึ้น 7.69% 9.62% 5.66% 7.66%
อันดับที่ 5 อยากให้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีแก่ชาวไทยทั้งพุทธและมุสลิม 4.40% 5.77% 1.90% 4.03%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-