จากการที่รัฐบาลมีแผนปรับขึ้นค่าตอบแทนให้แก่บุคลากรภาครัฐในวันที่ 1 เมษายนนี้ โดยแบ่งการปรับเงินเดือนข้าราชการ
เป็น 3 ส่วน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของข้าราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้
โดยตรงโดยแบ่งเป็น ข้าราชการระดับ 1—7 และสูงกว่าระดับ 7 จำนวนทั้งสิ้น 1,170 คน (ระดับ 1-7 810 คน 69.23 %
สูงกว่าระดับ 7 360 คน 30.77 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 2 มีนาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะขึ้นเงินเดือนให้กับข้าราชการระดับ 1- 7 ปรับเป็น 7% และข้าราชการ
ที่ระดับสูงกว่า 7 ปรับเป็น 3%
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 69.65% 58.83% 64.24%
เพราะ ข้าราชการระดับผู้น้อยมีฐานเงินเดือนที่ต่ำอยู่แล้ว,ค่าครองชีพในปัจจุบันสูงทำให้รายจ่ายเพิ่มขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 19.64% 35.29% 27.46%
เพราะ เป็นการไม่ยุติธรรมต่อข้าราชการระดับสูงที่ต้องรับผิดชอบงานมากกว่า,ควรมีการปรับให้เท่ากันทุกระดับ ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 10.71% 5.88% 8.30%
เพราะ เป็นจำนวนน้อยไม่สามารถช่วยอะไรได้มากนัก,เป็นปกติที่จะต้องขึ้นอยู่แล้ว ฯลฯ
2. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะปรับขั้นเงินเดือนโดย “การขึ้นตามเงินเดือนพื้นฐานปกติ”
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 64.29% 61.90% 63.10%
เพราะ ไม่ได้ปรับขึ้นเงินเดือนมานานแล้ว,เป็นการขึ้นที่เป็นธรรมเพราะได้ขึ้นกันทุกคน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 26.78% 28.57% 27.67%
เพราะ ควรปรับฐานเงินเดือนให้เท่ากันมากกว่า,น่าจะปรับตามความสามารถของแต่ละคนดีกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 8.93% 9.53% 9.23%
เพราะ ยังไม่ทราบข้อมูลที่ชัดเจนมากนัก,เป็นปกติที่จะต้องขึ้นอยู่แล้ว ฯลฯ
3. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะปรับขั้นเงินเดือนโดย “การให้ตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย”
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 47.93% 50.00% 48.97%
เพราะ ภารกิจของแต่ละคนหรือหน่วยงานแตกต่างกันจะเอาอะไรมาเป็นตัววัด,ทำให้มีการแบ่งพรรคแบ่งพวก ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 42.01% 45.24% 43.62%
เพราะ เป็นแรงกระตุ้นให้กับข้าราชการในการทำงาน,แต่ละคนหรือหน่วยงานทำงานไม่เหมือนกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 10.06% 4.76% 7.41%
เพราะ ยังต้องรอดูกฏเกณฑ์ในการตัดสินก่อนว่าเป็นอย่างไร,ยุติธรรมมากน้อยแค่ไหน ฯลฯ
4. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะปรับขั้นเงินเดือนเป็น “เงินเพิ่มพิเศษในรูปแบบของโบนัส”
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 44.64% 48.84% 46.74%
เพราะ อาจเกิดความลำเอียงของผู้บังคับบัญชาได้,เกิดความไม่ยุติธรรมในการให้โบนัสได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 47.62% 39.53% 43.58%
เพราะ เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับข้าราชการในการทำงาน,ควรมีมานานแล้วเพราะเอกชนก็มี ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 7.74% 11.63% 9.68%
เพราะ ขึ้นอยู่กับผู้ประเมินในการให้โบนัสใช่ว่าหลักเกณฑ์ใดมาวัด,ยังไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน ฯลฯ
5. “ข้าราชการ” คิดว่าการขึ้นเงินเดือนในครั้งนี้โดยภาพรวมมีเป็นธรรมหรือมีความโปร่งใสหรือไม่?
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 47.02% 30.95% 38.99%
เพราะ ยังไม่ชัดเจนในโครงสร้างของเงินเดือนที่จะปรับขึ้นว่ามีกฎเกณฑ์อะไร ฯลฯ
อันดับที่ 2 เป็นธรรม/โปร่งใส 36.31% 26.19% 31.25%
เพราะ ก่อนที่จะปรับขึ้นเงินเดือนคงมีการกำหนดกฎเกณฑ์ในการตัดสินอย่างดีที่สุดเพื่อความยุติธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่เป็นธรรม/ไม่โปร่งใส 16.67% 42.86% 29.76%
เพราะ อาจมีการเล่นพรรคเล่นพวกกันได้,ไม่มีหลักเกณฑ์อะไรที่เป็นรูปธรรม ฯลฯ
6. “ข้าราชการ” มีความเชื่อมั่นในการควบคุมราคาสินค้าไม่ให้ขึ้นราคาหลังจากการปรับขึ้นเงินเดือนข้าราชการ
ในครั้งนี้หรือไม่?
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เชื่อมั่น 48.81% 64.52% 56.67%
เพราะ เท่าที่ผ่านมารัฐบาลก็ยังไม่สามารถทำได้,ราคาสินค้ามักจะขึ้นก่อนเงินเดือนจะปรับขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยเชื่อมั่น 42.26% 28.57% 35.41%
เพราะ ราคาสินค้าบางอย่างก็ขึ้นก่อนที่จะปรับเสียอีก,รัฐบาลยังไม่เอาจริง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ค่อนข้างเชื่อมั่น 5.95% 2.15 4.05%
เพราะ ถ้าทุกอย่างทำอย่างมีระบบและรัดกุมก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากที่จะทำ ฯลฯ
อันดับที่ 4 เชื่อมั่นมาก 2.98% 4.76% 3.87%
เพราะ สิ่งที่ยากกว่านี้รัฐบาลยังทำมาแล้วแค่การควบคุมราคาสินค้าก็น่าจะทำได้ ฯลฯ
7. การขึ้นเงินเดือนครั้งนี้ “ข้าราชการ” จะยกเครดิตให้กับใครหรือหน่วยงานใด
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 นายกฯทักษิณ ชินวัตร 53.23% 38.09% 45.66%
อันดับที่ 2 รัฐบาล 37.10% 33.34% 35.22%
อันดับที่ 3 กระทรวงการคลัง 9.67% 28.57% 19.12%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
เป็น 3 ส่วน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของข้าราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้
โดยตรงโดยแบ่งเป็น ข้าราชการระดับ 1—7 และสูงกว่าระดับ 7 จำนวนทั้งสิ้น 1,170 คน (ระดับ 1-7 810 คน 69.23 %
สูงกว่าระดับ 7 360 คน 30.77 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 2 มีนาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะขึ้นเงินเดือนให้กับข้าราชการระดับ 1- 7 ปรับเป็น 7% และข้าราชการ
ที่ระดับสูงกว่า 7 ปรับเป็น 3%
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 69.65% 58.83% 64.24%
เพราะ ข้าราชการระดับผู้น้อยมีฐานเงินเดือนที่ต่ำอยู่แล้ว,ค่าครองชีพในปัจจุบันสูงทำให้รายจ่ายเพิ่มขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 19.64% 35.29% 27.46%
เพราะ เป็นการไม่ยุติธรรมต่อข้าราชการระดับสูงที่ต้องรับผิดชอบงานมากกว่า,ควรมีการปรับให้เท่ากันทุกระดับ ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 10.71% 5.88% 8.30%
เพราะ เป็นจำนวนน้อยไม่สามารถช่วยอะไรได้มากนัก,เป็นปกติที่จะต้องขึ้นอยู่แล้ว ฯลฯ
2. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะปรับขั้นเงินเดือนโดย “การขึ้นตามเงินเดือนพื้นฐานปกติ”
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 64.29% 61.90% 63.10%
เพราะ ไม่ได้ปรับขึ้นเงินเดือนมานานแล้ว,เป็นการขึ้นที่เป็นธรรมเพราะได้ขึ้นกันทุกคน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 26.78% 28.57% 27.67%
เพราะ ควรปรับฐานเงินเดือนให้เท่ากันมากกว่า,น่าจะปรับตามความสามารถของแต่ละคนดีกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 8.93% 9.53% 9.23%
เพราะ ยังไม่ทราบข้อมูลที่ชัดเจนมากนัก,เป็นปกติที่จะต้องขึ้นอยู่แล้ว ฯลฯ
3. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะปรับขั้นเงินเดือนโดย “การให้ตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย”
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 47.93% 50.00% 48.97%
เพราะ ภารกิจของแต่ละคนหรือหน่วยงานแตกต่างกันจะเอาอะไรมาเป็นตัววัด,ทำให้มีการแบ่งพรรคแบ่งพวก ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 42.01% 45.24% 43.62%
เพราะ เป็นแรงกระตุ้นให้กับข้าราชการในการทำงาน,แต่ละคนหรือหน่วยงานทำงานไม่เหมือนกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 10.06% 4.76% 7.41%
เพราะ ยังต้องรอดูกฏเกณฑ์ในการตัดสินก่อนว่าเป็นอย่างไร,ยุติธรรมมากน้อยแค่ไหน ฯลฯ
4. “ข้าราชการ” เห็นด้วยหรือไม่? ที่จะปรับขั้นเงินเดือนเป็น “เงินเพิ่มพิเศษในรูปแบบของโบนัส”
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 44.64% 48.84% 46.74%
เพราะ อาจเกิดความลำเอียงของผู้บังคับบัญชาได้,เกิดความไม่ยุติธรรมในการให้โบนัสได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 47.62% 39.53% 43.58%
เพราะ เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับข้าราชการในการทำงาน,ควรมีมานานแล้วเพราะเอกชนก็มี ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 7.74% 11.63% 9.68%
เพราะ ขึ้นอยู่กับผู้ประเมินในการให้โบนัสใช่ว่าหลักเกณฑ์ใดมาวัด,ยังไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน ฯลฯ
5. “ข้าราชการ” คิดว่าการขึ้นเงินเดือนในครั้งนี้โดยภาพรวมมีเป็นธรรมหรือมีความโปร่งใสหรือไม่?
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 47.02% 30.95% 38.99%
เพราะ ยังไม่ชัดเจนในโครงสร้างของเงินเดือนที่จะปรับขึ้นว่ามีกฎเกณฑ์อะไร ฯลฯ
อันดับที่ 2 เป็นธรรม/โปร่งใส 36.31% 26.19% 31.25%
เพราะ ก่อนที่จะปรับขึ้นเงินเดือนคงมีการกำหนดกฎเกณฑ์ในการตัดสินอย่างดีที่สุดเพื่อความยุติธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่เป็นธรรม/ไม่โปร่งใส 16.67% 42.86% 29.76%
เพราะ อาจมีการเล่นพรรคเล่นพวกกันได้,ไม่มีหลักเกณฑ์อะไรที่เป็นรูปธรรม ฯลฯ
6. “ข้าราชการ” มีความเชื่อมั่นในการควบคุมราคาสินค้าไม่ให้ขึ้นราคาหลังจากการปรับขึ้นเงินเดือนข้าราชการ
ในครั้งนี้หรือไม่?
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เชื่อมั่น 48.81% 64.52% 56.67%
เพราะ เท่าที่ผ่านมารัฐบาลก็ยังไม่สามารถทำได้,ราคาสินค้ามักจะขึ้นก่อนเงินเดือนจะปรับขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยเชื่อมั่น 42.26% 28.57% 35.41%
เพราะ ราคาสินค้าบางอย่างก็ขึ้นก่อนที่จะปรับเสียอีก,รัฐบาลยังไม่เอาจริง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ค่อนข้างเชื่อมั่น 5.95% 2.15 4.05%
เพราะ ถ้าทุกอย่างทำอย่างมีระบบและรัดกุมก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากที่จะทำ ฯลฯ
อันดับที่ 4 เชื่อมั่นมาก 2.98% 4.76% 3.87%
เพราะ สิ่งที่ยากกว่านี้รัฐบาลยังทำมาแล้วแค่การควบคุมราคาสินค้าก็น่าจะทำได้ ฯลฯ
7. การขึ้นเงินเดือนครั้งนี้ “ข้าราชการ” จะยกเครดิตให้กับใครหรือหน่วยงานใด
ระดับ 1 - 7 สูงกว่าระดับ 7 ภาพรวม
อันดับที่ 1 นายกฯทักษิณ ชินวัตร 53.23% 38.09% 45.66%
อันดับที่ 2 รัฐบาล 37.10% 33.34% 35.22%
อันดับที่ 3 กระทรวงการคลัง 9.67% 28.57% 19.12%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-