วันมาฆบูชา ถือเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่มีธรรมเนียมปฏิบัติมาช้านาน แต่ในยุคสมัยปัจจุบัน วันสำคัญทาง
พระพุทธศาสนาได้ลดบทบาทลงเป็นอันมาก ประกอบกับภาพลักษณ์เกิดขึ้นในวงการศาสนานั้นมีผลกระทบต่อความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความคิดเห็นของประชาชนในช่วงอายุที่ต่างกัน 3 ช่วงอายุ จำนวนทั้งสิ้น
1,324 คน (อายุต่ำกว่า 20 ปี 416 คน 31.42% อายุ 21 — 30 ปี 484 คน 36.56 % และอายุสูงกว่า 30 ปี
424 คน 32.02% ) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 - 4 มีนาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “คนต่างวัย” รู้หรือไม่ว่าพรุ่งนี้เป็นวัน “มาฆบูชา”
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 รู้ 97.12% 98.21% 97.96% 97.76%
เพราะ เป็นวันสำคัญที่สืบทอดกันมายาวนาน,เป็นวันหยุดมีระบุไว้ในปฏิทิน,จากสื่อต่าง ๆและญาติพี่น้อง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่รู้ 2.88% 1.79% 2.04% 2.24%
เพราะ ไม่ค่อยได้สนใจ,ต้องทำงาน,ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับวันนี้มากนักฯลฯ
2. ในวันมาฆบูชา “คนต่างวัย” จะทำกิจกรรมทางศาสนาหรือไม่?
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำ 73.27% 67.86% 81.63% 74.25%
เพราะ ไปทำบุญตักบาตรและเข้าร่วมพิธีเวียนเทียน,ทำบุญปล่อยนกปล่อยปลา,ทำสังฆทานที่วัด ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ทำ 26.73% 32.14% 18.37% 25.75%
เพราะ ไม่ค่อยมีเวลาว่างต้องทำงาน,อยู่ไกลวัดเดินทางไม่สะดวก,ต้องการพักผ่อนมากกว่า ฯลฯ
3. ระหว่าง “วันมาฆบูชา” กับ “วันวาเลนไทน์” “คนต่างวัย” ให้ความสำคัญกับวันใดมากกว่ากัน
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 วันมาฆบูชามากกว่า 41.59% 62.50% 79.59% 61.23%
เพราะ เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ,เป็นวันสำคัญทางศาสนา,เป็นประเพณีที่ดีงานและสืบทอดกันมาช้านาน ฯลฯ
อันดับที่ 2 พอ ๆ กัน 39.60% 22.32% 16.33% 26.08%
เพราะ เป็นวันสำคัญเช่นเดียวกันแต่ให้ความหมายต่างกัน,เป็นวันที่มีการทำกิจกรรมร่วมกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 วันวาเลนไทน์มากกว่า 10.89% 8.04% 2.04% 6.99%
เพราะ เป็นวันที่แสดงถึงความรักที่มีให้กันและกัน,เป็นที่ได้รับความนิยมจากทั่วโลก ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่ให้ความสำคัญเลย 7.92% 7.14% 2.04% 5.70%
เพราะ เป็นเหมือนวันปกติธรรมดาทั่วไป,ไม่ค่อยให้ความสนใจกับเรื่องนี้เท่าใดนัก ฯลฯ
4. ในฐานะของพุทธศาสนิกชน “คนต่างวัย” มองพุทธศาสนา ณ ปัจจุบันอย่างไร?
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ปัจจุบันเริ่มให้ความสำคัญน้อยลง/
ความศรัทธาในพุทธศาสนาเริ่มลดลง 51.39% 61.11% 70.59% 61.03%
อันดับที่ 2 ยังเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทย/
สอนให้คนทำแต่ความดี 11.11% 23.33% 5.88% 13.44%
อันดับที่ 3 ปัจจุบันพุทธศาสนากลายเป็นธุรกิจมากเกินไป
ไม่ได้มุ่งในทางสงบเหมือนแต่ก่อน 16.67% 8.90% 14.71% 13.43%
อันดับที่ 4 มีทั้งด้านบวกและด้านลบ 11.11% 2.22% 5.88% 6.40%
อันดับที่ 5 ปัจจุบันเป็นสถานที่สำหรับแสวงหา
ผลประโยชน์ของคนบางกลุ่ม 9.72% 4.44% 2.94% 5.70%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
พระพุทธศาสนาได้ลดบทบาทลงเป็นอันมาก ประกอบกับภาพลักษณ์เกิดขึ้นในวงการศาสนานั้นมีผลกระทบต่อความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความคิดเห็นของประชาชนในช่วงอายุที่ต่างกัน 3 ช่วงอายุ จำนวนทั้งสิ้น
1,324 คน (อายุต่ำกว่า 20 ปี 416 คน 31.42% อายุ 21 — 30 ปี 484 คน 36.56 % และอายุสูงกว่า 30 ปี
424 คน 32.02% ) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 - 4 มีนาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “คนต่างวัย” รู้หรือไม่ว่าพรุ่งนี้เป็นวัน “มาฆบูชา”
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 รู้ 97.12% 98.21% 97.96% 97.76%
เพราะ เป็นวันสำคัญที่สืบทอดกันมายาวนาน,เป็นวันหยุดมีระบุไว้ในปฏิทิน,จากสื่อต่าง ๆและญาติพี่น้อง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่รู้ 2.88% 1.79% 2.04% 2.24%
เพราะ ไม่ค่อยได้สนใจ,ต้องทำงาน,ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับวันนี้มากนักฯลฯ
2. ในวันมาฆบูชา “คนต่างวัย” จะทำกิจกรรมทางศาสนาหรือไม่?
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำ 73.27% 67.86% 81.63% 74.25%
เพราะ ไปทำบุญตักบาตรและเข้าร่วมพิธีเวียนเทียน,ทำบุญปล่อยนกปล่อยปลา,ทำสังฆทานที่วัด ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ทำ 26.73% 32.14% 18.37% 25.75%
เพราะ ไม่ค่อยมีเวลาว่างต้องทำงาน,อยู่ไกลวัดเดินทางไม่สะดวก,ต้องการพักผ่อนมากกว่า ฯลฯ
3. ระหว่าง “วันมาฆบูชา” กับ “วันวาเลนไทน์” “คนต่างวัย” ให้ความสำคัญกับวันใดมากกว่ากัน
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 วันมาฆบูชามากกว่า 41.59% 62.50% 79.59% 61.23%
เพราะ เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ,เป็นวันสำคัญทางศาสนา,เป็นประเพณีที่ดีงานและสืบทอดกันมาช้านาน ฯลฯ
อันดับที่ 2 พอ ๆ กัน 39.60% 22.32% 16.33% 26.08%
เพราะ เป็นวันสำคัญเช่นเดียวกันแต่ให้ความหมายต่างกัน,เป็นวันที่มีการทำกิจกรรมร่วมกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 วันวาเลนไทน์มากกว่า 10.89% 8.04% 2.04% 6.99%
เพราะ เป็นวันที่แสดงถึงความรักที่มีให้กันและกัน,เป็นที่ได้รับความนิยมจากทั่วโลก ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่ให้ความสำคัญเลย 7.92% 7.14% 2.04% 5.70%
เพราะ เป็นเหมือนวันปกติธรรมดาทั่วไป,ไม่ค่อยให้ความสนใจกับเรื่องนี้เท่าใดนัก ฯลฯ
4. ในฐานะของพุทธศาสนิกชน “คนต่างวัย” มองพุทธศาสนา ณ ปัจจุบันอย่างไร?
ต่ำกว่า 20 ปี 21 — 30 ปี สูงกว่า 30 ปี ภาพรวม
อันดับที่ 1 ปัจจุบันเริ่มให้ความสำคัญน้อยลง/
ความศรัทธาในพุทธศาสนาเริ่มลดลง 51.39% 61.11% 70.59% 61.03%
อันดับที่ 2 ยังเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทย/
สอนให้คนทำแต่ความดี 11.11% 23.33% 5.88% 13.44%
อันดับที่ 3 ปัจจุบันพุทธศาสนากลายเป็นธุรกิจมากเกินไป
ไม่ได้มุ่งในทางสงบเหมือนแต่ก่อน 16.67% 8.90% 14.71% 13.43%
อันดับที่ 4 มีทั้งด้านบวกและด้านลบ 11.11% 2.22% 5.88% 6.40%
อันดับที่ 5 ปัจจุบันเป็นสถานที่สำหรับแสวงหา
ผลประโยชน์ของคนบางกลุ่ม 9.72% 4.44% 2.94% 5.70%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-