จากข่าวการคุมเข้มของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ออกมาตรการเอาจริงกับผู้ที่เล่นสงกรานต์อันตราย โดยยกกฎหมาย
คุ้มครองเด็กเอาผิดพ่อแม่ผู้ปกครองหากปล่อยปละละเลย โดยเป็นไปตามมาตรา 26 แห่งพ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ซึ่งมี
โทษจำคุกสูงถึง 3 เดือน ปรับ 30,000 บาท พร้อมทั้งระดมกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจกว่า 2,000 นาย ดูแลความเรียบร้อยในช่วง
เทศกาลสงกรานต์ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,071 คน (ชาย 504 คน 47.06%หญิง 567 คน 58.94 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 29 | 30 มีนาคม
2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนคิดอย่างไร? กรณี การพิจารณาเอาผิดกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง หากบุตรหลานกระทำผิดในช่วงสงกรานต์
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองไม่ทราบว่าบุตรหลาน
ไปทำอะไร ที่ไหนไม่สามารถติดตามได้ตลอด 52.00% 66.14% 59.07%
อันดับที่ 2 การกระทำขึ้นอยู่กับการอบรมของพ่อแม่ผู้ปกครองควรมี
การควบคุมไม่ปล่อยปละละเลย 33.34% 28.35% 30.85%
อันดับที่ 3 เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคล ควรดูเหตุการณ์
ของการกระทำผิดด้วย 9.33% 3.15% 6.24%
อันดับที่ 4 เป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงจุด/เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ 5.33% 2.36% 3.84%
2. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่? กับการเอาผิดผู้ที่เล่นแป้งอาจเจอ 2 ข้อหา คือ พ.ร.บ.รักษาความสะอาด และข้อหาลวนลาม
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 49.11% 61.91% 55.51%
เพราะ บางคนเล่นสงกรานต์แบบไม่มีมารยาท,เป็นการบป้องกันเพื่อลดการเล่นที่เกินขอบเขต,ป้องกันพวกที่ชอบฉวยโอกาส ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 50.89% 38.09% 44.49%
เพราะ เป็นช่วงเทศกาลควรมีการลดหย่อน,ส่วนใหญ่ทุกปีก็มีการเล่นแป้งกันอยู่แล้ว,คล้ายเป็นประเพณีหากไม่มีอาจหมดสนุก ฯลฯ
3. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่? กับการจำกัดการเล่นสงกรานต์ในกทม.ให้เล่นเพียงถนน 4 สาย คือ ถ.ตะนาว
ถ.ข้าวสาร ถ.พระอาทิตย์ และ ถ.สามเสน โดยให้เล่นได้ตลอด 24 ชม. (13 - 14 เม.ย. 2547)
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 56.61% 37.72% 47.16%
ควรเพิ่มเป็น ถ.สีลม,ถ.ศรีอยุธยา,ถ.อักษะ(ถ.อุทยาน),สามารถเล่นได้ทุกที่แต่จำกัดเวลาตั้งแต่ 09.00 | 16.00 น. ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 22.64% 40.12% 31.38%
เพราะ เป็นการรักษาความปลอดภัยเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย,เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถดูแลได้ง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 20.75% 22.16% 21.46%
เพราะ อาจจะเกิดความไม่สะดวกกับผู้ที่พักอาศัยในเขตรอบนอกกทม.,อาจทำให้เกิดความแออัดมากเกินไป ฯลฯ
4. ประชาชนคิดว่ามาตรการดังกล่าวจะช่วยลดปัญหาการเล่นสงกรานต์รุนแรง การเล่นที่ส่อไปทางลวนลามและ
อนาจารได้หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าได้ 35.19% 35.15% 35.17%
เพราะ ผู้เล่นอาจเกิดความเกรงกลัวทำให้ไม่กล้าเล่นอย่างรุนแรง,หากมีการควบคุมดูแลอย่างจริงจังน่าจะลดลง ฯลฯ
อันดับที่ 2 คิดว่าไม่ได้ 37.04% 32.12% 34.58%
เพราะ ต้องขึ้นอยู่กับทางเจ้าหน้าที่ตำรวจว่าจะเคร่งครัดเพียงใด,เป็นจิตสำนึกของผู้เล่นเอง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 27.77% 32.73% 30.25%
เพราะ อาจจะมีผู้ที่ฝ่าฝืน,อาจหลงหูหลงตาเจ้าหน้าที่ตำรวจบ้าง,ต้องมีการตรวจตราที่เข้มงวดและจริงจังพอสมควร ฯลฯ
5. ประชาชนอยากฝากอะไร? ถึงสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรณีการควบคุมเรื่องการเล่นสงกรานต์
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีมาตรการควบคุมการเล่นสงกรานต์อย่างเข้มงวด
และทั่วถึงทุกสถานที่ 46.73% 41.33% 44.03%
อันดับที่ 2 เข้มงวดในเรื่องของ “เมาไม่ขับ” เพื่อเป็นการลดอุบัติเหตุ 13.08% 25.33% 19.21%
อันดับที่ 3 ควรแก้ไขตามสถานการณ์ งดการใช้ความรุนแรง
ในการปราบปราม 21.50% 14.67% 18.08%
อันดับที่ 4 ควรมีการลดหย่อนในบางกรณี เพื่อสร้างบรรยา
กาศที่สนุกสนานของเทศกาล 8.41% 10.67% 9.54%
อันดับที่ 5 ดูแลในเรื่องของอุปกรณ์/วิธีการเล่นสงกรานต์แบบแปลกๆ 10.28% 8.00% 9.14%
6.ประชาชนอยากฝากอะไร? ถึงกระทรวงวัฒนธรรม กรณีการควบคุมเรื่องการเล่นสงกรานต์
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรมีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์เกี่ยวกับการเล่นสงกรานต์
อย่างไทยตามแบบอย่างประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย 67.25% 59.65% 63.45%
อันดับที่ 2 ควรมีการควบคุมดูแลในการแต่งกายในช่วงเทศกาล
สงกรานต์ให้เหมาะสม 22.41% 36.84% 29.63%
อันดับที่ 3 ควรมีกฎเกณฑ์ในการเล่นสงกรานต์ เพื่อให้ประชาชน
รับรู้และปฏิบัติตาม 10.34% 3.51% 6.92%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
คุ้มครองเด็กเอาผิดพ่อแม่ผู้ปกครองหากปล่อยปละละเลย โดยเป็นไปตามมาตรา 26 แห่งพ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ซึ่งมี
โทษจำคุกสูงถึง 3 เดือน ปรับ 30,000 บาท พร้อมทั้งระดมกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจกว่า 2,000 นาย ดูแลความเรียบร้อยในช่วง
เทศกาลสงกรานต์ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,071 คน (ชาย 504 คน 47.06%หญิง 567 คน 58.94 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 29 | 30 มีนาคม
2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนคิดอย่างไร? กรณี การพิจารณาเอาผิดกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง หากบุตรหลานกระทำผิดในช่วงสงกรานต์
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองไม่ทราบว่าบุตรหลาน
ไปทำอะไร ที่ไหนไม่สามารถติดตามได้ตลอด 52.00% 66.14% 59.07%
อันดับที่ 2 การกระทำขึ้นอยู่กับการอบรมของพ่อแม่ผู้ปกครองควรมี
การควบคุมไม่ปล่อยปละละเลย 33.34% 28.35% 30.85%
อันดับที่ 3 เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคล ควรดูเหตุการณ์
ของการกระทำผิดด้วย 9.33% 3.15% 6.24%
อันดับที่ 4 เป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงจุด/เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ 5.33% 2.36% 3.84%
2. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่? กับการเอาผิดผู้ที่เล่นแป้งอาจเจอ 2 ข้อหา คือ พ.ร.บ.รักษาความสะอาด และข้อหาลวนลาม
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 49.11% 61.91% 55.51%
เพราะ บางคนเล่นสงกรานต์แบบไม่มีมารยาท,เป็นการบป้องกันเพื่อลดการเล่นที่เกินขอบเขต,ป้องกันพวกที่ชอบฉวยโอกาส ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 50.89% 38.09% 44.49%
เพราะ เป็นช่วงเทศกาลควรมีการลดหย่อน,ส่วนใหญ่ทุกปีก็มีการเล่นแป้งกันอยู่แล้ว,คล้ายเป็นประเพณีหากไม่มีอาจหมดสนุก ฯลฯ
3. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่? กับการจำกัดการเล่นสงกรานต์ในกทม.ให้เล่นเพียงถนน 4 สาย คือ ถ.ตะนาว
ถ.ข้าวสาร ถ.พระอาทิตย์ และ ถ.สามเสน โดยให้เล่นได้ตลอด 24 ชม. (13 - 14 เม.ย. 2547)
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 56.61% 37.72% 47.16%
ควรเพิ่มเป็น ถ.สีลม,ถ.ศรีอยุธยา,ถ.อักษะ(ถ.อุทยาน),สามารถเล่นได้ทุกที่แต่จำกัดเวลาตั้งแต่ 09.00 | 16.00 น. ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 22.64% 40.12% 31.38%
เพราะ เป็นการรักษาความปลอดภัยเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย,เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถดูแลได้ง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 20.75% 22.16% 21.46%
เพราะ อาจจะเกิดความไม่สะดวกกับผู้ที่พักอาศัยในเขตรอบนอกกทม.,อาจทำให้เกิดความแออัดมากเกินไป ฯลฯ
4. ประชาชนคิดว่ามาตรการดังกล่าวจะช่วยลดปัญหาการเล่นสงกรานต์รุนแรง การเล่นที่ส่อไปทางลวนลามและ
อนาจารได้หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าได้ 35.19% 35.15% 35.17%
เพราะ ผู้เล่นอาจเกิดความเกรงกลัวทำให้ไม่กล้าเล่นอย่างรุนแรง,หากมีการควบคุมดูแลอย่างจริงจังน่าจะลดลง ฯลฯ
อันดับที่ 2 คิดว่าไม่ได้ 37.04% 32.12% 34.58%
เพราะ ต้องขึ้นอยู่กับทางเจ้าหน้าที่ตำรวจว่าจะเคร่งครัดเพียงใด,เป็นจิตสำนึกของผู้เล่นเอง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 27.77% 32.73% 30.25%
เพราะ อาจจะมีผู้ที่ฝ่าฝืน,อาจหลงหูหลงตาเจ้าหน้าที่ตำรวจบ้าง,ต้องมีการตรวจตราที่เข้มงวดและจริงจังพอสมควร ฯลฯ
5. ประชาชนอยากฝากอะไร? ถึงสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรณีการควบคุมเรื่องการเล่นสงกรานต์
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีมาตรการควบคุมการเล่นสงกรานต์อย่างเข้มงวด
และทั่วถึงทุกสถานที่ 46.73% 41.33% 44.03%
อันดับที่ 2 เข้มงวดในเรื่องของ “เมาไม่ขับ” เพื่อเป็นการลดอุบัติเหตุ 13.08% 25.33% 19.21%
อันดับที่ 3 ควรแก้ไขตามสถานการณ์ งดการใช้ความรุนแรง
ในการปราบปราม 21.50% 14.67% 18.08%
อันดับที่ 4 ควรมีการลดหย่อนในบางกรณี เพื่อสร้างบรรยา
กาศที่สนุกสนานของเทศกาล 8.41% 10.67% 9.54%
อันดับที่ 5 ดูแลในเรื่องของอุปกรณ์/วิธีการเล่นสงกรานต์แบบแปลกๆ 10.28% 8.00% 9.14%
6.ประชาชนอยากฝากอะไร? ถึงกระทรวงวัฒนธรรม กรณีการควบคุมเรื่องการเล่นสงกรานต์
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรมีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์เกี่ยวกับการเล่นสงกรานต์
อย่างไทยตามแบบอย่างประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย 67.25% 59.65% 63.45%
อันดับที่ 2 ควรมีการควบคุมดูแลในการแต่งกายในช่วงเทศกาล
สงกรานต์ให้เหมาะสม 22.41% 36.84% 29.63%
อันดับที่ 3 ควรมีกฎเกณฑ์ในการเล่นสงกรานต์ เพื่อให้ประชาชน
รับรู้และปฏิบัติตาม 10.34% 3.51% 6.92%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-