พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังคงทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ทั้งการลอบยิงชาวบ้านและเจ้าหน้าที่บ้านเมือง
จนบาดเจ็บหรือเสียชีวิตแทบจะทุกวัน,ลอบวางเพลิงเผาสถานที่ต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นการท้าทายอำนาจรัฐและล่าสุดเกิด
เหตุการณ์ปล้นระเบิดจากโรงโม่หินในจังหวัดยะลา หวั่นว่าจะเป็นการเตรียมก่อวินาศกรรม แต่บางฝ่ายมองว่าอาจเป็นการสร้าง
สถานการณ์เพื่อให้เกิดความระส่ำระส่ายเท่านั้น “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็น
ของ “คนกรุงเทพฯ” และ “คนใต้” ที่รู้และติดตามข่าวกรณีนี้ จำนวนทั้งสิ้น 1,188 คน (คนกทม. 692 คน 58.25%
คนใต้ 496 คน 41.75% โดยสำรวจระหว่างวันที่ 31 มีนาคม | 1 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนคิดย่างไร? กรณีปล้นระเบิดที่ จ.ยะลา
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการท้าทายอำนาจรัฐ/อาจเป็นฝีมือของกลุ่มที่เสียประโยชน์ 24.24% 41.33% 32.78%
อันดับที่ 2 สถานการณ์เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น/เป็นห่วงความปลอดภัยของประชาชน 34.85% 22.67% 28.76%
อันดับที่ 3 เป็นการสร้างสถานการณ์/เป็นเกมการเมือง 21.21% 16.00% 18.61%
อันดับที่ 4 มาตรการป้องกันของภาครัฐยังขาดประสิทธิภาพ/หละหลวมเกินไป 13.64% 12.00% 12.82%
อันดับที่ 5 ปัญหาทางภาคใต้สะสมมานานแล้วขาดการแก้ไขที่ต่อเนื่อง 6.06% 8.00% 7.03%
2. ประชาชนคิดว่าสาเหตุของเหตุการณ์เกิดจากอะไร?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการก่อความไม่สงบทำลายความน่าเชื่อถือการทำงานของภาครัฐ 35.72% 38.81% 37.26%
อันดับที่ 2 เกิดจากความขัดแย้งทางการเมือง/มีผู้มีอิทธิพลอยู่เบื้องหลัง 23.21% 31.34% 27.28%
อันดับที่ 3 เกิดจากปัญหาภายในพื้นที่ เช่น ในเรื่องศาสนา การแบ่งแยกดินแดนฯลฯ 16.07% 11.94% 14.00%
อันดับที่ 4 การทำงานของเจ้าหน้าที่ขาดประสิทธิภาพ/ประมาท 8.93% 13.43% 11.18%
อันดับที่ 5 ความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนในพื้นที่กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 16.07% 4.48% 10.28%
3. ประชาชนคิดว่ากรณีของการปล้นระเบิดที่ จ.ยะลาในครั้งนี้เป็นเกมการเมืองหรือไม่?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 51.43% 39.58% 45.50%
เพราะ แหล่งข่าวไม่มีความชัดเจน,ยังไม่ข้อมูลที่แน่ชัด,มีการวิพากษ์วิจารณ์จากหลายกระแส ฯลฯ
อันดับที่ 2 เป็นเกมการเมือง 37.14% 48.96% 43.05%
เพราะ เป็นการสร้างสถานการณ์เพื่อลดความน่าเชื่อถือของรัฐบาล,มีเรื่องผลประโยชน์ทางการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ใช่เกมการเมือง 11.43% 11.46% 11.45%
เพราะ เป็นการกระทำของกลุ่มหัวรุนแรง,ต้องการแบ่งแยกดินแดน,เป็นปัญหาที่มีมานานแล้ว ฯลฯ
4. การปล้นระเบิดในครั้งนี้ทำให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการรักษาความปลอดภัยของรัฐบาลลดลงหรือไม่?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดลง 45.72% 61.86% 53.79%
เพราะ สถานที่ส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานราชการ,ไม่สามารถจับผู้กระทำผิดมาลงโทษได้,ขาดการแก้ไขปัญหาที่เด็ดขาด ฯลฯ
อันดับที่ 2 เท่าเดิม 37.14% 23.71% 30.43%
เพราะ รัฐบาลทำดีที่สุดแล้ว,มั่นใจว่ารัฐบาลจะแก้ปัญหาได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 17.14% 14.43% 15.78%
เพราะ ยังมีข่าวเหตุการณ์ความไม่สงบออกมาเป็นระยะ ฯลฯ
5. ประชาชนคิดว่าควรมีแนวทางในการแก้ปัญหานี้อย่างไร?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 สืบหาต้นเหตุของปัญหา/แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด 40.00% 28.57% 34.28%
อันดับที่ 2 ควรมีการแก้ไขปัญหาด้วยความเด็ดขาดเพื่อให้เกิดความเกรงกลัว 34.55% 19.48% 27.02%
อันดับที่ 3 มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชนในพื้นที่/เพิ่มความเข้าใจที่ดีต่อกัน 14.55% 29.88% 22.22%
อันดับที่ 4 ให้มีการเพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ในการควบคุมดูแลสถานการณ์อย่างใกล้ชิด 5.45% 15.58% 10.51%
อันดับที่ 5 รัฐบาลควรเพิ่มการดูแลเอาใจใส่ในการแก้ไขปัญหา 5.45% 6.49% 5.97%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
จนบาดเจ็บหรือเสียชีวิตแทบจะทุกวัน,ลอบวางเพลิงเผาสถานที่ต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นการท้าทายอำนาจรัฐและล่าสุดเกิด
เหตุการณ์ปล้นระเบิดจากโรงโม่หินในจังหวัดยะลา หวั่นว่าจะเป็นการเตรียมก่อวินาศกรรม แต่บางฝ่ายมองว่าอาจเป็นการสร้าง
สถานการณ์เพื่อให้เกิดความระส่ำระส่ายเท่านั้น “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็น
ของ “คนกรุงเทพฯ” และ “คนใต้” ที่รู้และติดตามข่าวกรณีนี้ จำนวนทั้งสิ้น 1,188 คน (คนกทม. 692 คน 58.25%
คนใต้ 496 คน 41.75% โดยสำรวจระหว่างวันที่ 31 มีนาคม | 1 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนคิดย่างไร? กรณีปล้นระเบิดที่ จ.ยะลา
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการท้าทายอำนาจรัฐ/อาจเป็นฝีมือของกลุ่มที่เสียประโยชน์ 24.24% 41.33% 32.78%
อันดับที่ 2 สถานการณ์เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น/เป็นห่วงความปลอดภัยของประชาชน 34.85% 22.67% 28.76%
อันดับที่ 3 เป็นการสร้างสถานการณ์/เป็นเกมการเมือง 21.21% 16.00% 18.61%
อันดับที่ 4 มาตรการป้องกันของภาครัฐยังขาดประสิทธิภาพ/หละหลวมเกินไป 13.64% 12.00% 12.82%
อันดับที่ 5 ปัญหาทางภาคใต้สะสมมานานแล้วขาดการแก้ไขที่ต่อเนื่อง 6.06% 8.00% 7.03%
2. ประชาชนคิดว่าสาเหตุของเหตุการณ์เกิดจากอะไร?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการก่อความไม่สงบทำลายความน่าเชื่อถือการทำงานของภาครัฐ 35.72% 38.81% 37.26%
อันดับที่ 2 เกิดจากความขัดแย้งทางการเมือง/มีผู้มีอิทธิพลอยู่เบื้องหลัง 23.21% 31.34% 27.28%
อันดับที่ 3 เกิดจากปัญหาภายในพื้นที่ เช่น ในเรื่องศาสนา การแบ่งแยกดินแดนฯลฯ 16.07% 11.94% 14.00%
อันดับที่ 4 การทำงานของเจ้าหน้าที่ขาดประสิทธิภาพ/ประมาท 8.93% 13.43% 11.18%
อันดับที่ 5 ความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนในพื้นที่กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 16.07% 4.48% 10.28%
3. ประชาชนคิดว่ากรณีของการปล้นระเบิดที่ จ.ยะลาในครั้งนี้เป็นเกมการเมืองหรือไม่?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 51.43% 39.58% 45.50%
เพราะ แหล่งข่าวไม่มีความชัดเจน,ยังไม่ข้อมูลที่แน่ชัด,มีการวิพากษ์วิจารณ์จากหลายกระแส ฯลฯ
อันดับที่ 2 เป็นเกมการเมือง 37.14% 48.96% 43.05%
เพราะ เป็นการสร้างสถานการณ์เพื่อลดความน่าเชื่อถือของรัฐบาล,มีเรื่องผลประโยชน์ทางการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ใช่เกมการเมือง 11.43% 11.46% 11.45%
เพราะ เป็นการกระทำของกลุ่มหัวรุนแรง,ต้องการแบ่งแยกดินแดน,เป็นปัญหาที่มีมานานแล้ว ฯลฯ
4. การปล้นระเบิดในครั้งนี้ทำให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการรักษาความปลอดภัยของรัฐบาลลดลงหรือไม่?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดลง 45.72% 61.86% 53.79%
เพราะ สถานที่ส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานราชการ,ไม่สามารถจับผู้กระทำผิดมาลงโทษได้,ขาดการแก้ไขปัญหาที่เด็ดขาด ฯลฯ
อันดับที่ 2 เท่าเดิม 37.14% 23.71% 30.43%
เพราะ รัฐบาลทำดีที่สุดแล้ว,มั่นใจว่ารัฐบาลจะแก้ปัญหาได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 17.14% 14.43% 15.78%
เพราะ ยังมีข่าวเหตุการณ์ความไม่สงบออกมาเป็นระยะ ฯลฯ
5. ประชาชนคิดว่าควรมีแนวทางในการแก้ปัญหานี้อย่างไร?
คนกทม. คนใต้ ภาพรวม
อันดับที่ 1 สืบหาต้นเหตุของปัญหา/แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด 40.00% 28.57% 34.28%
อันดับที่ 2 ควรมีการแก้ไขปัญหาด้วยความเด็ดขาดเพื่อให้เกิดความเกรงกลัว 34.55% 19.48% 27.02%
อันดับที่ 3 มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชนในพื้นที่/เพิ่มความเข้าใจที่ดีต่อกัน 14.55% 29.88% 22.22%
อันดับที่ 4 ให้มีการเพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ในการควบคุมดูแลสถานการณ์อย่างใกล้ชิด 5.45% 15.58% 10.51%
อันดับที่ 5 รัฐบาลควรเพิ่มการดูแลเอาใจใส่ในการแก้ไขปัญหา 5.45% 6.49% 5.97%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-