จากดำริของนายกฯทักษิณที่ต้องการเข้าถึงประชาชน โดยใช้การลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมเยือนประชาชนและข้าราชการในพื้นที่
ซึ่งมีกำหนดเวลาตั้งแต่วันที่ 18 | 28 เมษายน โดยจะใช้การเดินทางโดยรถยนต์แบบ “ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น” ทั้งนี้เพื่อเป็นการตรวจ
ราชการและเก็บข้อมูลรายละเอียดปัญหาต่างๆในแต่ละพื้นที่ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็น
ของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลต่อนโยบายดังกล่าว จำนวนทั้งสิ้น 1,056 คน (ชาย 404 คน
38.26% หญิง 652 คน 61.74%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 2 - 3 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กับนโยบายของนายกฯทักษิณ “ค่ำไหนนอนนั่น”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้เข้าถึงและรับทราบปัญหาของประชาชนได้อย่างแท้จริง 53.85% 40.74% 47.29%
อันดับที่ 2 เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ทั้งข้าราชการและประชาชน 19.23% 18.52% 18.88%
อันดับที่ 3 เป็นรูปแบบใหม่ของการบริหารที่มุ่งสู่ระดับล่างเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 15.38% 22.22% 18.80%
อันดับที่ 4 กระตุ้นให้ข้าราชการในระดับท้องถิ่นกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น 7.69% 11.11% 9.40%
อันดับที่ 5 อาจเป็นการใช้งบประมาณเพื่อการหาเสียงก่อนการเลือกตั้ง 3.85% 7.41% 5.63%
2. “ประชาชน” คิดว่านโยบายนี้ จะเป็นการหาเสียงก่อนการเลือกตั้งครั้งหน้าของนายกฯ ทักษิณหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าใช่ 61.54% 44.83% 53.19%
เพราะ เป็นการปูทางสู่การเลือกตั้งในสมัยหน้า,แสดงภาพลักษณ์ของผู้นำให้เกิดความศรัทธา ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.84% 37.93% 33.38%
เพราะ ยังไม่ทราบจุดประสงค์ที่แท้จริง,คิดว่าเป็นการตรวจงามตามปกติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 คิดว่าไม่ใช่ 9.62% 17.24% 13.43%
เพราะ เป็นการทำงานเพื่อประชาชน,รับทราบปัญหาของประชาชนได้โดยตรง,สร้างขวัญและกำลังใจให้ประชาชน ฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าการลงพื้นที่ของนายกฯในครั้งนี้จะสร้างความกดดันให้กับข้าราชการในพื้นที่หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 กดดัน 57.14% 46.55% 51.85%
เพราะ ต้องเตรียมการต้อนรับและการรักษาความปลอดภัย,ข้าราชการต้องกระตือรือร้นและตื่นตัวมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่กดดัน 30.36% 32.76% 31.56%
เพราะ เป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ,เป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับผู้บริหารเพื่อจะได้รับทราบปัญหาอย่างแท้จริง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 12.50% 20.69% 16.59%
เพราะ ขึ้นอยู่กับการทำงานของข้าราชการแต่ละพื้นที่,อาจเป็นการกระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้น ฯลฯ
4. “ประชาชน” คิดว่าการใช้นโยบายนี้ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อความปลอดภัยของนายกฯ ทักษิณหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่มีความเสี่ยง 26.92% 44.78% 35.85%
เพราะ เป็นถึงระดับผู้นำประเทศคงมีการเตรียมการคุ้มครองเป็นอย่างดี,การรักษาความปลอดภัยสำหรับนายกฯดีอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 2 มีความเสี่ยง 34.62% 35.82% 35.22%
เพราะ นายกฯต้องออกพื้นที่บ่อยอาจเกิดเหตุการณ์การลอบทำร้าย,เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้หากการดูแลไม่ทั่วถึง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 38.46% 19.40% 28.93%
เพราะ มีทั้งกลุ่มที่พอใจและไม่พอใจในการทำงานของนายกฯทักษิณ ฯลฯ
5. “ประชาชน” คิดว่านโยบายนี้จะสามารถช่วยแก้ปัญหาต่างๆได้หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 44.23% 40.35% 42.29%
เพราะ ต้องรอดูผลงาน/ต้องลองทำดูก่อน,มีทั้งข้อดีและข้อเสีย,อาจเป็นการนำร่องเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ฯลฯ
อันดับที่ 2 แก้ไขได้ 36.54% 43.86% 40.20%
เพราะ เข้าถึงปัญหาได้มากขึ้น,ลดช่องว่าง ขั้นตอนต่างๆ,ผู้บริหารของประเทศได้รับทราบข้อมูลตรงไม่ใช่จากเอกสาร ฯลฯ
อันดับที่ 3 แก้ไขไม่ได้ 19.23% 15.79% 17.51%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ,เป็นเพียงการสร้างภาพลักษณ์เพื่อรักษาฐานเสียงของตนเองและเรียกคะแนนนิยม ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
ซึ่งมีกำหนดเวลาตั้งแต่วันที่ 18 | 28 เมษายน โดยจะใช้การเดินทางโดยรถยนต์แบบ “ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น” ทั้งนี้เพื่อเป็นการตรวจ
ราชการและเก็บข้อมูลรายละเอียดปัญหาต่างๆในแต่ละพื้นที่ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็น
ของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลต่อนโยบายดังกล่าว จำนวนทั้งสิ้น 1,056 คน (ชาย 404 คน
38.26% หญิง 652 คน 61.74%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 2 - 3 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กับนโยบายของนายกฯทักษิณ “ค่ำไหนนอนนั่น”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้เข้าถึงและรับทราบปัญหาของประชาชนได้อย่างแท้จริง 53.85% 40.74% 47.29%
อันดับที่ 2 เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ทั้งข้าราชการและประชาชน 19.23% 18.52% 18.88%
อันดับที่ 3 เป็นรูปแบบใหม่ของการบริหารที่มุ่งสู่ระดับล่างเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 15.38% 22.22% 18.80%
อันดับที่ 4 กระตุ้นให้ข้าราชการในระดับท้องถิ่นกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น 7.69% 11.11% 9.40%
อันดับที่ 5 อาจเป็นการใช้งบประมาณเพื่อการหาเสียงก่อนการเลือกตั้ง 3.85% 7.41% 5.63%
2. “ประชาชน” คิดว่านโยบายนี้ จะเป็นการหาเสียงก่อนการเลือกตั้งครั้งหน้าของนายกฯ ทักษิณหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าใช่ 61.54% 44.83% 53.19%
เพราะ เป็นการปูทางสู่การเลือกตั้งในสมัยหน้า,แสดงภาพลักษณ์ของผู้นำให้เกิดความศรัทธา ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.84% 37.93% 33.38%
เพราะ ยังไม่ทราบจุดประสงค์ที่แท้จริง,คิดว่าเป็นการตรวจงามตามปกติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 คิดว่าไม่ใช่ 9.62% 17.24% 13.43%
เพราะ เป็นการทำงานเพื่อประชาชน,รับทราบปัญหาของประชาชนได้โดยตรง,สร้างขวัญและกำลังใจให้ประชาชน ฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าการลงพื้นที่ของนายกฯในครั้งนี้จะสร้างความกดดันให้กับข้าราชการในพื้นที่หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 กดดัน 57.14% 46.55% 51.85%
เพราะ ต้องเตรียมการต้อนรับและการรักษาความปลอดภัย,ข้าราชการต้องกระตือรือร้นและตื่นตัวมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่กดดัน 30.36% 32.76% 31.56%
เพราะ เป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ,เป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับผู้บริหารเพื่อจะได้รับทราบปัญหาอย่างแท้จริง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 12.50% 20.69% 16.59%
เพราะ ขึ้นอยู่กับการทำงานของข้าราชการแต่ละพื้นที่,อาจเป็นการกระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้น ฯลฯ
4. “ประชาชน” คิดว่าการใช้นโยบายนี้ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อความปลอดภัยของนายกฯ ทักษิณหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่มีความเสี่ยง 26.92% 44.78% 35.85%
เพราะ เป็นถึงระดับผู้นำประเทศคงมีการเตรียมการคุ้มครองเป็นอย่างดี,การรักษาความปลอดภัยสำหรับนายกฯดีอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 2 มีความเสี่ยง 34.62% 35.82% 35.22%
เพราะ นายกฯต้องออกพื้นที่บ่อยอาจเกิดเหตุการณ์การลอบทำร้าย,เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้หากการดูแลไม่ทั่วถึง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 38.46% 19.40% 28.93%
เพราะ มีทั้งกลุ่มที่พอใจและไม่พอใจในการทำงานของนายกฯทักษิณ ฯลฯ
5. “ประชาชน” คิดว่านโยบายนี้จะสามารถช่วยแก้ปัญหาต่างๆได้หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 44.23% 40.35% 42.29%
เพราะ ต้องรอดูผลงาน/ต้องลองทำดูก่อน,มีทั้งข้อดีและข้อเสีย,อาจเป็นการนำร่องเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ฯลฯ
อันดับที่ 2 แก้ไขได้ 36.54% 43.86% 40.20%
เพราะ เข้าถึงปัญหาได้มากขึ้น,ลดช่องว่าง ขั้นตอนต่างๆ,ผู้บริหารของประเทศได้รับทราบข้อมูลตรงไม่ใช่จากเอกสาร ฯลฯ
อันดับที่ 3 แก้ไขไม่ได้ 19.23% 15.79% 17.51%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ,เป็นเพียงการสร้างภาพลักษณ์เพื่อรักษาฐานเสียงของตนเองและเรียกคะแนนนิยม ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-