จากที่มีการรณรงค์เกี่ยวกับอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของหน่วยงานต่างๆ ซึ่งเป็นการลดอุบัติเหตุและการสูญเสียที่จะตามมา
เพื่อสะท้อนถึงความคิดเห็นของผู้ใช้รถใช้ถนนต่อการรณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุ และเพื่อหาแนวทางป้องกัน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราช
ภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,109 คน (ชาย 586
คน 52.84% หญิง 523 คน 47.16 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 12 - 14 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าอุบัติเหตุช่วงสงกรานต์ปีนี้จะเพิ่มมากขึ้นจากปีที่แล้วหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพิ่มขึ้น 60.10% 63.01% 63.56%
เพราะ คนส่วนใหญ่จะคิดถึงเรื่องความสนุกมากกว่าความปลอดภัย,มีปริมาณการใช้รถเพิ่มขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ลดลง 25.64% 16.44% 21.04%
เพราะ มีการรณรงค์ต่างๆเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ,มีการเพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่และเพิ่มความเข้มงวดมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 เท่าเดิม 10.26% 20.55% 15.40%
เพราะ ทุกคนยังปฏิบัติตนเช่นเดิม,ไม่มีความระมัดระวัง,ยังมีการดื่มสุราทั้งก่อนและขณะขับรถ ฯลฯ
2. “ประชาชน” มั่นใจต่อมาตรการการป้องกันอุบัติเหตุของภาครัฐมากน้อยเพียงใด?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 51.28% 49.52% 50.40%
เพราะ อาจมีการดูแลไม่ทั่วถึง,มาตรการที่ใช้อยู่เดิมยังป้องกันไม่ได้,อุบัติเหตุมักเกิดขึ้นเนื่องจากความประมาท ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมั่นใจ 28.20% 36.19% 32.19%
เพราะ มีความพร้อมและมีการประชาสัมพันธ์รณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุ,มีมาตรการออกมาควบคุมอย่างเข้มงวดมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นใจเลย 10.26% 7.62% 8.94%
เพราะ อยู่ที่จิตสำนึกของแต่ละคน,ความประมาทเป็นเรื่องของแต่ละบุคคล ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก 10.26% 6.67% 8.47%
เพราะ มีการเอาจริงเอาจังกับการป้องกันเพื่อลดอุบัติเหตุ,ทั้งภาครัฐและประชาชนต่างก็ให้ความร่วมมือ ฯลฯ
3. วิธีแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุในช่วงเทศกาล คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ในขณะขับรถ/เมาไม่ขับ 41.67% 37.50% 39.59%
อันดับที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ผู้ขับขี่ประมาท มีสติอยู่ตลอดเวลา 25.00% 42.86% 33.93%
อันดับที่ 3 งดจำหน่ายหรือจำกัดเวลาในการขายสุราและของมึนเมา 27.77% 8.93% 18.35%
อันดับที่ 4 พักผ่อนอยู่กับบ้านไม่ออกไปต่างจังหวัด 5.56% 10.71% 8.13%
4. “ประชาชน” คิดว่าการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุมีความคุ้มค่ามากน้อยเพียงใด?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คุ้มค่า 89.74% 88.78% 89.26%
เพราะ ช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ,ช่วยเตือนสติและเพิ่มความระมัดระวังของผู้ใช้รถ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่คุ้มค่า 10.26% 11.22% 10.74%
เพราะ สิ้นเปลืองงบประมาณ,ประชาชนไม่เห็นเป็นเรื่องสำคัญ,ขึ้นอยู่กับจิตสำนึกของแต่ละบุคคล ฯลฯ
5. สิ่งที่ “ประชาชน” อยากฝากบอกกับผู้ที่ขับขี่เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ในขณะขับรถไม่ดื่มแอลกอฮอล์หรือของมึนเมา /เมาไม่ขับ 41.46% 27.94% 34.70%
อันดับที่ 2 เพิ่มความระมัดระวังในการขับขี่ให้มากขึ้น /ไม่คึกคะนอง 19.52% 35.30% 27.41%
อันดับที่ 3 ไม่ประมาทในการขับรถ/ควรมีสติอยู่ตลอดเวลา 24.39% 26.47% 25.43%
อันดับที่ 4 ขับรถให้ถูกกฎจราจรจะช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ 14.63% 10.29% 12.46%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
เพื่อสะท้อนถึงความคิดเห็นของผู้ใช้รถใช้ถนนต่อการรณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุ และเพื่อหาแนวทางป้องกัน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราช
ภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,109 คน (ชาย 586
คน 52.84% หญิง 523 คน 47.16 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 12 - 14 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าอุบัติเหตุช่วงสงกรานต์ปีนี้จะเพิ่มมากขึ้นจากปีที่แล้วหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพิ่มขึ้น 60.10% 63.01% 63.56%
เพราะ คนส่วนใหญ่จะคิดถึงเรื่องความสนุกมากกว่าความปลอดภัย,มีปริมาณการใช้รถเพิ่มขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ลดลง 25.64% 16.44% 21.04%
เพราะ มีการรณรงค์ต่างๆเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ,มีการเพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่และเพิ่มความเข้มงวดมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 เท่าเดิม 10.26% 20.55% 15.40%
เพราะ ทุกคนยังปฏิบัติตนเช่นเดิม,ไม่มีความระมัดระวัง,ยังมีการดื่มสุราทั้งก่อนและขณะขับรถ ฯลฯ
2. “ประชาชน” มั่นใจต่อมาตรการการป้องกันอุบัติเหตุของภาครัฐมากน้อยเพียงใด?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 51.28% 49.52% 50.40%
เพราะ อาจมีการดูแลไม่ทั่วถึง,มาตรการที่ใช้อยู่เดิมยังป้องกันไม่ได้,อุบัติเหตุมักเกิดขึ้นเนื่องจากความประมาท ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมั่นใจ 28.20% 36.19% 32.19%
เพราะ มีความพร้อมและมีการประชาสัมพันธ์รณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุ,มีมาตรการออกมาควบคุมอย่างเข้มงวดมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นใจเลย 10.26% 7.62% 8.94%
เพราะ อยู่ที่จิตสำนึกของแต่ละคน,ความประมาทเป็นเรื่องของแต่ละบุคคล ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก 10.26% 6.67% 8.47%
เพราะ มีการเอาจริงเอาจังกับการป้องกันเพื่อลดอุบัติเหตุ,ทั้งภาครัฐและประชาชนต่างก็ให้ความร่วมมือ ฯลฯ
3. วิธีแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุในช่วงเทศกาล คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ในขณะขับรถ/เมาไม่ขับ 41.67% 37.50% 39.59%
อันดับที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ผู้ขับขี่ประมาท มีสติอยู่ตลอดเวลา 25.00% 42.86% 33.93%
อันดับที่ 3 งดจำหน่ายหรือจำกัดเวลาในการขายสุราและของมึนเมา 27.77% 8.93% 18.35%
อันดับที่ 4 พักผ่อนอยู่กับบ้านไม่ออกไปต่างจังหวัด 5.56% 10.71% 8.13%
4. “ประชาชน” คิดว่าการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุมีความคุ้มค่ามากน้อยเพียงใด?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คุ้มค่า 89.74% 88.78% 89.26%
เพราะ ช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ,ช่วยเตือนสติและเพิ่มความระมัดระวังของผู้ใช้รถ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่คุ้มค่า 10.26% 11.22% 10.74%
เพราะ สิ้นเปลืองงบประมาณ,ประชาชนไม่เห็นเป็นเรื่องสำคัญ,ขึ้นอยู่กับจิตสำนึกของแต่ละบุคคล ฯลฯ
5. สิ่งที่ “ประชาชน” อยากฝากบอกกับผู้ที่ขับขี่เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ในขณะขับรถไม่ดื่มแอลกอฮอล์หรือของมึนเมา /เมาไม่ขับ 41.46% 27.94% 34.70%
อันดับที่ 2 เพิ่มความระมัดระวังในการขับขี่ให้มากขึ้น /ไม่คึกคะนอง 19.52% 35.30% 27.41%
อันดับที่ 3 ไม่ประมาทในการขับรถ/ควรมีสติอยู่ตลอดเวลา 24.39% 26.47% 25.43%
อันดับที่ 4 ขับรถให้ถูกกฎจราจรจะช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ 14.63% 10.29% 12.46%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-