วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันแรงงานแห่งชาติ ชนชั้นแรงงานจึงเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย เพื่อเป็นการสะท้อนสภาพความเป็นอยู่
ของ “แรงงานไทย” ว่าดีขึ้น หรือแย่ลง เมื่อเปรียบเทียบจากปีที่ผ่านมา “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจ
ความคิดเห็นของผู้ใช้แรงงานไทยที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,110 คน (ชาย 522 คน 47.03% หญิง
588 คน 52.97%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 28 | 30 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “สิ่งที่ดีขึ้น” ณ วันนี้เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีการจ้างงานมากขึ้น/รายได้ดีขึ้น 36.78% 33.67% 35.23%
อันดับที่ 2 รัฐบาลให้ความดูแลเอาใจใส่มากขึ้น/มีกฎหมายคุ้มครอง
ผู้ใช้แรงงานไม่ให้ถูกกดขี่และโดนเอาเปรียบจากนายจ้าง 28.74% 29.59% 29.16%
อันดับที่ 3 ประชาชนมีกำลังซื้อมากขึ้น/เศรษฐกิจดีขึ้น 20.69% 22.45% 21.57%
อันดับที่ 4 ยังเหมือนเดิม/ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากนัก 13.79% 14.29% 14.04%
2. “สิ่งที่แย่ลง” ณ วันนี้เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ของกิน ของใช้แพงขึ้น/ค่าครองชีพสูงขึ้น 34.77% 30.93% 32.85%
อันดับที่ 2 สภาพความเป็นอยู่ยังไม่ดีขึ้น/บ้านต้องเช่าอยู่เหมือนเดิม 29.57% 26.80% 28.19%
อันดับที่ 3 การเอารัดเอาเปรียบจากนายทุน นายจ้าง/ชอบหักเงิน
ค่าจ้างประจำ 23.08% 24.68% 23.88%
อันดับที่ 4 ยังมีการหลอกลวงคนงานให้ไปขายแรงงานในต่าง
ประเทศแบบผิดกฎหมายอยู่ 12.58% 17.59% 15.08%
3. “ความหนักใจ” ของผู้ใช้แรงงาน ณ วันนี้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สภาพความเป็นอยู่ยังไม่ดีขึ้น/ยังมีหนี้สินที่ยังใช้ไม่หมด 36.73% 42.59% 39.66%
อันดับที่ 2 การเอารัดเอาเปรียบของนายจ้าง/หาประโยชน์จากคนจน 26.53% 29.66% 28.10%
อันดับที่ 3 ความไม่มั่นคงของเศรษฐกิจทำให้เกิดการจ้างงานที่ไม่แน่นอน 22.45% 16.67% 19.56%
อันดับที่ 4 ยังมีแรงงานต่างด้าวจำนวนมากเข้ามาแย่งแรงงานไทยทำงาน 14.29% 11.08% 12.68%
4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “แรงงานต่างด้าว” ที่เข้ามาอยู่ในไทย คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 น่าสงสารและน่าเห็นใจเพราะคนเหล่านี้ก็
มีชีวิตที่ลำบากเหมือนกัน 34.20% 39.17% 36.69%
อันดับที่ 2 บางคนที่เดินทางเข้ามาสร้างความเดือดร้อน
วุ่นวาย/และมักจะก่อปัญหาอาชญากรรมเป็นประจำ 33.52% 28.13% 30.82%
อันดับที่ 3 ทางราชการควรมีการควบคุมดูแลไม่ให้คนต่างด้าว
เข้ามาแย่งงานคนไทยมากเกินไป 19.30% 23.96% 21.63%
อันดับที่ 4 แรงงานต่างด้าวค่าจ้างค่อนข้างถูกทำให้คนนิยม
ใช้มากกว่าแรงงานไทย 12.98% 8.74% 10.86%
5. ความเป็นอยู่ ณ วันนี้เมื่อเปรียบเทียบกับ “รัฐบาลชวน”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเดิม 44.74% 47.76% 46.25%
เพราะ ค่าครองชีพและความเป็นอยู่ยังเหมือนเดินไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ดีขึ้น 39.47% 35.82% 37.65%
เพราะ มีการจ้างงานมากขึ้น,เศรษฐกิจดีขึ้นทำให้มีรายได้เพิ่ม,รัฐบาลให้ความสนใจ ดูแลและให้ความเป็นธรรมมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 15.79% 16.42% 16.10%
เพราะ สินค้าอุปโภค บริโภคยังแพงอยู่,ยังคงมีหนี้สินเพิ่มขึ้น,งานที่ทำอยู่ไม่แน่นอน ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
ของ “แรงงานไทย” ว่าดีขึ้น หรือแย่ลง เมื่อเปรียบเทียบจากปีที่ผ่านมา “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจ
ความคิดเห็นของผู้ใช้แรงงานไทยที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,110 คน (ชาย 522 คน 47.03% หญิง
588 คน 52.97%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 28 | 30 เมษายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “สิ่งที่ดีขึ้น” ณ วันนี้เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีการจ้างงานมากขึ้น/รายได้ดีขึ้น 36.78% 33.67% 35.23%
อันดับที่ 2 รัฐบาลให้ความดูแลเอาใจใส่มากขึ้น/มีกฎหมายคุ้มครอง
ผู้ใช้แรงงานไม่ให้ถูกกดขี่และโดนเอาเปรียบจากนายจ้าง 28.74% 29.59% 29.16%
อันดับที่ 3 ประชาชนมีกำลังซื้อมากขึ้น/เศรษฐกิจดีขึ้น 20.69% 22.45% 21.57%
อันดับที่ 4 ยังเหมือนเดิม/ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากนัก 13.79% 14.29% 14.04%
2. “สิ่งที่แย่ลง” ณ วันนี้เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ของกิน ของใช้แพงขึ้น/ค่าครองชีพสูงขึ้น 34.77% 30.93% 32.85%
อันดับที่ 2 สภาพความเป็นอยู่ยังไม่ดีขึ้น/บ้านต้องเช่าอยู่เหมือนเดิม 29.57% 26.80% 28.19%
อันดับที่ 3 การเอารัดเอาเปรียบจากนายทุน นายจ้าง/ชอบหักเงิน
ค่าจ้างประจำ 23.08% 24.68% 23.88%
อันดับที่ 4 ยังมีการหลอกลวงคนงานให้ไปขายแรงงานในต่าง
ประเทศแบบผิดกฎหมายอยู่ 12.58% 17.59% 15.08%
3. “ความหนักใจ” ของผู้ใช้แรงงาน ณ วันนี้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สภาพความเป็นอยู่ยังไม่ดีขึ้น/ยังมีหนี้สินที่ยังใช้ไม่หมด 36.73% 42.59% 39.66%
อันดับที่ 2 การเอารัดเอาเปรียบของนายจ้าง/หาประโยชน์จากคนจน 26.53% 29.66% 28.10%
อันดับที่ 3 ความไม่มั่นคงของเศรษฐกิจทำให้เกิดการจ้างงานที่ไม่แน่นอน 22.45% 16.67% 19.56%
อันดับที่ 4 ยังมีแรงงานต่างด้าวจำนวนมากเข้ามาแย่งแรงงานไทยทำงาน 14.29% 11.08% 12.68%
4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “แรงงานต่างด้าว” ที่เข้ามาอยู่ในไทย คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 น่าสงสารและน่าเห็นใจเพราะคนเหล่านี้ก็
มีชีวิตที่ลำบากเหมือนกัน 34.20% 39.17% 36.69%
อันดับที่ 2 บางคนที่เดินทางเข้ามาสร้างความเดือดร้อน
วุ่นวาย/และมักจะก่อปัญหาอาชญากรรมเป็นประจำ 33.52% 28.13% 30.82%
อันดับที่ 3 ทางราชการควรมีการควบคุมดูแลไม่ให้คนต่างด้าว
เข้ามาแย่งงานคนไทยมากเกินไป 19.30% 23.96% 21.63%
อันดับที่ 4 แรงงานต่างด้าวค่าจ้างค่อนข้างถูกทำให้คนนิยม
ใช้มากกว่าแรงงานไทย 12.98% 8.74% 10.86%
5. ความเป็นอยู่ ณ วันนี้เมื่อเปรียบเทียบกับ “รัฐบาลชวน”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเดิม 44.74% 47.76% 46.25%
เพราะ ค่าครองชีพและความเป็นอยู่ยังเหมือนเดินไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ดีขึ้น 39.47% 35.82% 37.65%
เพราะ มีการจ้างงานมากขึ้น,เศรษฐกิจดีขึ้นทำให้มีรายได้เพิ่ม,รัฐบาลให้ความสนใจ ดูแลและให้ความเป็นธรรมมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 15.79% 16.42% 16.10%
เพราะ สินค้าอุปโภค บริโภคยังแพงอยู่,ยังคงมีหนี้สินเพิ่มขึ้น,งานที่ทำอยู่ไม่แน่นอน ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-