แท็ก
สวนดุสิตโพล
** ประชาชนกว่า 63% ได้รับผลกระทบจากการขึ้นราคาน้ำมัน
จากการที่รัฐบาลไม่สามารถตรึงราคาน้ำมันไว้ได้นั้น ทำให้ราคาน้ำมันมีราคาสูงขึ้น จึงทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันอย่าง
กว้างขวางว่าอาจจะมีสินค้าอุปโภค/บริโภคขึ้นด้วย “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน
ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,071 คน ( ชาย 532 คน 49.67% หญิง 539 คน 50.33%) โดยสำรวจระ
หว่างวันที่ 7 - 8 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ปัจจุบันค่าใช้จ่ายกับรายได้ของ "ประชาชน" เป็นอย่างไร?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 รายได้เพียงพอกับรายจ่าย 43.42% 40.26% 41.84%
อันดับที่ 2 รายจ่ายมากกว่ารายได้/มีหนี้สิน 42.11% 36.36% 39.24%
อันดับที่ 3 ไม่มีหนี้สิน 14.47% 23.38% 18.92%
2. จากการขึ้นราคาน้ำมัน.ในครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อ “ประชาชน” ในการดำรงชีวิตหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ส่งผลกระทบ 64.47% 62.67% 63.57%
เพราะ ราคาสินค้าสูงขึ้นค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น,ทำให้รายได้ไม่พอกับรายจ่าย,ความเป็นอยู่ต้องประหยัดมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ส่งผลกระทบ 35.53% 37.33% 36.43%
เพราะ ปกติก็ไม่ได้ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยอยู่แล้ว,ใช้บริการของรถเมล์เป็นประจำ ฯลฯ
3. สิ่งที่เป็นผลพวงมาจากการขึ้นราคาน้ำมัน ที่ประชาชนได้รับ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ราคาสินค้าอุปโภค/บริโภคสูงขึ้น 44.83% 43.04% 43.94%
อันดับที่ 2 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพิ่มมากขึ้น 31.03% 26.58% 28.81%
อันดับที่ 3 ประชาชนได้รับความเดือดร้อน/ค่าครองชีพสูงขึ้น 12.07% 15.19% 13.63%
อันดับที่ 4 ไม่มีเงินเก็บ เงินออมเพราะต้องใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 8.62% 10.13% 9.37%
อันดับที่ 5 เศรษฐกิจแย่ลง/ระบบเศรษฐกิจในประเทศเปลี่ยนแปลง 3.45% 5.06% 4.25%
4. "ประชาชน" มีวิธีแก้ไข/วิธีประหยัดเกี่ยวกับการขึ้นราคาน้ำมันอย่างไร?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 นั่งรถเมล์แทน/ใช้รถส่วนตัวน้อยลง ใช้เท่าที่จำเป็น 50.00% 40.85% 45.43%
อันดับที่ 2 ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลง 29.17% 33.80% 31.48%
อันดับที่ 3 วางแผนในการเดินทางอย่างรอบคอบมากขึ้น 14.58% 16.90% 15.74%
อันดับที่ 4 หันมาใช้ก๊าซธรรมชาติมากขึ้น 6.25% 8.45% 7.35%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
จากการที่รัฐบาลไม่สามารถตรึงราคาน้ำมันไว้ได้นั้น ทำให้ราคาน้ำมันมีราคาสูงขึ้น จึงทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันอย่าง
กว้างขวางว่าอาจจะมีสินค้าอุปโภค/บริโภคขึ้นด้วย “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน
ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,071 คน ( ชาย 532 คน 49.67% หญิง 539 คน 50.33%) โดยสำรวจระ
หว่างวันที่ 7 - 8 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ปัจจุบันค่าใช้จ่ายกับรายได้ของ "ประชาชน" เป็นอย่างไร?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 รายได้เพียงพอกับรายจ่าย 43.42% 40.26% 41.84%
อันดับที่ 2 รายจ่ายมากกว่ารายได้/มีหนี้สิน 42.11% 36.36% 39.24%
อันดับที่ 3 ไม่มีหนี้สิน 14.47% 23.38% 18.92%
2. จากการขึ้นราคาน้ำมัน.ในครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อ “ประชาชน” ในการดำรงชีวิตหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ส่งผลกระทบ 64.47% 62.67% 63.57%
เพราะ ราคาสินค้าสูงขึ้นค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น,ทำให้รายได้ไม่พอกับรายจ่าย,ความเป็นอยู่ต้องประหยัดมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ส่งผลกระทบ 35.53% 37.33% 36.43%
เพราะ ปกติก็ไม่ได้ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยอยู่แล้ว,ใช้บริการของรถเมล์เป็นประจำ ฯลฯ
3. สิ่งที่เป็นผลพวงมาจากการขึ้นราคาน้ำมัน ที่ประชาชนได้รับ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ราคาสินค้าอุปโภค/บริโภคสูงขึ้น 44.83% 43.04% 43.94%
อันดับที่ 2 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพิ่มมากขึ้น 31.03% 26.58% 28.81%
อันดับที่ 3 ประชาชนได้รับความเดือดร้อน/ค่าครองชีพสูงขึ้น 12.07% 15.19% 13.63%
อันดับที่ 4 ไม่มีเงินเก็บ เงินออมเพราะต้องใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 8.62% 10.13% 9.37%
อันดับที่ 5 เศรษฐกิจแย่ลง/ระบบเศรษฐกิจในประเทศเปลี่ยนแปลง 3.45% 5.06% 4.25%
4. "ประชาชน" มีวิธีแก้ไข/วิธีประหยัดเกี่ยวกับการขึ้นราคาน้ำมันอย่างไร?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 นั่งรถเมล์แทน/ใช้รถส่วนตัวน้อยลง ใช้เท่าที่จำเป็น 50.00% 40.85% 45.43%
อันดับที่ 2 ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลง 29.17% 33.80% 31.48%
อันดับที่ 3 วางแผนในการเดินทางอย่างรอบคอบมากขึ้น 14.58% 16.90% 15.74%
อันดับที่ 4 หันมาใช้ก๊าซธรรมชาติมากขึ้น 6.25% 8.45% 7.35%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-