เมื่อวันที่ 13 พ.ค. 2547 ที่ผ่านมาทาง กกต. มีประกาศห้ามทำโพลเลือกตั้งผู้ว่าฯกทม. โดยกำหนดระยะเวลาการห้ามตั้งแต่
60 วันก่อนวันครบวาระการดำรงตำแหน่ง ถึงเวลา 15.00 น. ของวันลงคะแนนเลือกตั้ง ทั้งนี้ กกต. มีการกำหนดห้ามทำโพลเกี่ยวกับ
การเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.ตั้งแต่วันที่ 23 พ.ค. จนถึงวันที่ 29 ส.ค. รวมระยะเวลา 99 วัน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึง
ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครจำนวนทั้งสิ้น 1,253 คน (ชาย 714 คน 56.98% หญิง
539 คน 43.02 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 13 | 14 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าการสำรวจ/ทำโพลผู้ว่าฯ กทม.มี “ข้อดี” และ “ข้อเสีย” อย่างไร?
ข้อดี ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้ทราบถึงความคิดของประชาชนที่มีต่อผู้สมัครรวมถึงกระแสความนิยม
และความเคลื่อนไหวต่างๆ 55.87 52.21 54.04
อันดับที่ 2 เป็นการแสดงออกทางความคิดของประชาชนอย่างเสรี และเป็นข้อมูล
ทางสถิติที่สามารถอ้างอิงได้ 34.78 38.23 36.51
อันดับที่ 3 ทำให้ผู้สมัครได้ทราบฐานเสียงของตนเอง 9.35 9.56 9.45
ข้อเสีย ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการชี้นำมากเกินไป เช่นบางคนไม่รู้จะเลือกใครเมื่อเห็นผลโพล
ระบุก็อาจตัดสินใจเลือกคนนั้นได้ 62.71 55.78 59.24
อันดับที่ 2 เป็นความคิดเห็นของคนบางกลุ่มเท่านั้น ข้อมูลที่ได้รับอาจคลาดเคลื่อน
ไม่ตรงกับความเป็นจริงได้ 27.12 25.28 26.20
อันดับที่ 3 อาจทำให้มีการซื้อเสียง และมุ่งหาวิธีการที่ทำให้ตนเองได้คะแนนเสียงมากขึ้น 10.17 18.94 14.56
2. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กับการที่ กกต.ออกมาห้ามทำโพลผู้ว่าฯกทม. ระหว่างวันที่ 23 พ.ค. | 29 ส.ค. 2547
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชนมากเกินไป 57.14 49.12 53.13
อันดับที่ 2 เห็นด้วย เพราะโพลบางครั้งก็เป็นการชี้นำประชาชน และยัง
สามารถลดการซื้อเสียงลงได้บ้าง 28.57 31.58 39.85
อันดับที่ 3 ทำให้ขาดสีสันไปบ้าง เพราะในช่วงการเลือกตั้งจะเป็นช่วงที่มี
การขับเคี่ยวกันของสำนักโพลต่างๆ 14.29 19.30 7.02
3. “ประชาชน” คิดว่าหากไม่มีการทำโพลผู้ว่าฯ กทม.แล้ว จะทำให้ขาดสีสัน/ความสนใจในการเลือกตั้งหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ขาดสีสัน 49.52% 44.12% 46.82%
เพราะ ทำให้เกิดความเงียบเหงา ไมค่อยตื่นตัว,ประชาชนไม่ได้ลุ้น,เหมือนเป็นการปิดหูปิดตาประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ขาดสีสัน 31.43% 36.27% 33.85%
เพราะ สีสันของการเลือกตั้งอยู่ที่ตัวผู้สมัครและการหาเสียงมากกว่า,ประชาชนให้ความสำคัญกับการเลือกตั้งมากขึ้นฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 19.05% 19.61% 19.33%
เพราะ บางครั้งการทำโพลอาจจะเกี่ยวหรือไม่เกี่ยวกับผู้สมัครที่ประชาชนเลือก,แล้วแต่ความคิดเห็นของแต่ละคน ฯลฯ
4. “ประชาชน” เห็นด้วยหรือไม่? กับการที่ กกต. ออกมาห้ามทำโพลผู้ว่าฯ กทม.
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 52.94% 58.16% 55.55%
เพราะ การทำโพลเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนทราบและตื่นตัวในการเลือกตั้งมากขึ้น,เป็นการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของ
ประชาชน,จำกัดสิทธิและเสรีภาพจนเกินไป ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 22.55% 26.53% 24.54%
เพราะ คิดว่าไม่มีผลต่อการตัดสินใจของประชาชน ยังไงประชาชนก็ตัดสินใจด้วยตนเองอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วย 24.51% 15.31% 19.91%
เพราะ เป็นการชี้นำประชาชนมากเกินไป,คนไทยชอบตามกระแสและชอบโน้มเอียงไปกับเสียงส่วนใหญ่ ฯลฯ
5. สิ่งที่ “ประชาชน” อยากฝากบอกกับ กกต. ในเรื่องการควบคุม ดูแลการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้ทำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 44.83 42.42 43.63
อันดับที่ 2 ควรเอาจริงเอาจังกับการกระทำของผู้สมัครที่กระทำความผิดต่อกฎหมายเลือกตั้ง 36.21 25.76 30.98
อันดับที่ 3 กกต. คู่กับความเป็นกลาง ดังนั้นควรตั้งมั่นอยู่ในความยุติธรรม
และวางตัวเป็นกลางให้ประชาชนเชื่อถือต่อไป 18.96 31.82 25.39
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
60 วันก่อนวันครบวาระการดำรงตำแหน่ง ถึงเวลา 15.00 น. ของวันลงคะแนนเลือกตั้ง ทั้งนี้ กกต. มีการกำหนดห้ามทำโพลเกี่ยวกับ
การเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.ตั้งแต่วันที่ 23 พ.ค. จนถึงวันที่ 29 ส.ค. รวมระยะเวลา 99 วัน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึง
ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครจำนวนทั้งสิ้น 1,253 คน (ชาย 714 คน 56.98% หญิง
539 คน 43.02 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 13 | 14 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าการสำรวจ/ทำโพลผู้ว่าฯ กทม.มี “ข้อดี” และ “ข้อเสีย” อย่างไร?
ข้อดี ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้ทราบถึงความคิดของประชาชนที่มีต่อผู้สมัครรวมถึงกระแสความนิยม
และความเคลื่อนไหวต่างๆ 55.87 52.21 54.04
อันดับที่ 2 เป็นการแสดงออกทางความคิดของประชาชนอย่างเสรี และเป็นข้อมูล
ทางสถิติที่สามารถอ้างอิงได้ 34.78 38.23 36.51
อันดับที่ 3 ทำให้ผู้สมัครได้ทราบฐานเสียงของตนเอง 9.35 9.56 9.45
ข้อเสีย ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการชี้นำมากเกินไป เช่นบางคนไม่รู้จะเลือกใครเมื่อเห็นผลโพล
ระบุก็อาจตัดสินใจเลือกคนนั้นได้ 62.71 55.78 59.24
อันดับที่ 2 เป็นความคิดเห็นของคนบางกลุ่มเท่านั้น ข้อมูลที่ได้รับอาจคลาดเคลื่อน
ไม่ตรงกับความเป็นจริงได้ 27.12 25.28 26.20
อันดับที่ 3 อาจทำให้มีการซื้อเสียง และมุ่งหาวิธีการที่ทำให้ตนเองได้คะแนนเสียงมากขึ้น 10.17 18.94 14.56
2. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กับการที่ กกต.ออกมาห้ามทำโพลผู้ว่าฯกทม. ระหว่างวันที่ 23 พ.ค. | 29 ส.ค. 2547
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชนมากเกินไป 57.14 49.12 53.13
อันดับที่ 2 เห็นด้วย เพราะโพลบางครั้งก็เป็นการชี้นำประชาชน และยัง
สามารถลดการซื้อเสียงลงได้บ้าง 28.57 31.58 39.85
อันดับที่ 3 ทำให้ขาดสีสันไปบ้าง เพราะในช่วงการเลือกตั้งจะเป็นช่วงที่มี
การขับเคี่ยวกันของสำนักโพลต่างๆ 14.29 19.30 7.02
3. “ประชาชน” คิดว่าหากไม่มีการทำโพลผู้ว่าฯ กทม.แล้ว จะทำให้ขาดสีสัน/ความสนใจในการเลือกตั้งหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ขาดสีสัน 49.52% 44.12% 46.82%
เพราะ ทำให้เกิดความเงียบเหงา ไมค่อยตื่นตัว,ประชาชนไม่ได้ลุ้น,เหมือนเป็นการปิดหูปิดตาประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ขาดสีสัน 31.43% 36.27% 33.85%
เพราะ สีสันของการเลือกตั้งอยู่ที่ตัวผู้สมัครและการหาเสียงมากกว่า,ประชาชนให้ความสำคัญกับการเลือกตั้งมากขึ้นฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 19.05% 19.61% 19.33%
เพราะ บางครั้งการทำโพลอาจจะเกี่ยวหรือไม่เกี่ยวกับผู้สมัครที่ประชาชนเลือก,แล้วแต่ความคิดเห็นของแต่ละคน ฯลฯ
4. “ประชาชน” เห็นด้วยหรือไม่? กับการที่ กกต. ออกมาห้ามทำโพลผู้ว่าฯ กทม.
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 52.94% 58.16% 55.55%
เพราะ การทำโพลเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนทราบและตื่นตัวในการเลือกตั้งมากขึ้น,เป็นการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของ
ประชาชน,จำกัดสิทธิและเสรีภาพจนเกินไป ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 22.55% 26.53% 24.54%
เพราะ คิดว่าไม่มีผลต่อการตัดสินใจของประชาชน ยังไงประชาชนก็ตัดสินใจด้วยตนเองอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วย 24.51% 15.31% 19.91%
เพราะ เป็นการชี้นำประชาชนมากเกินไป,คนไทยชอบตามกระแสและชอบโน้มเอียงไปกับเสียงส่วนใหญ่ ฯลฯ
5. สิ่งที่ “ประชาชน” อยากฝากบอกกับ กกต. ในเรื่องการควบคุม ดูแลการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้ทำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 44.83 42.42 43.63
อันดับที่ 2 ควรเอาจริงเอาจังกับการกระทำของผู้สมัครที่กระทำความผิดต่อกฎหมายเลือกตั้ง 36.21 25.76 30.98
อันดับที่ 3 กกต. คู่กับความเป็นกลาง ดังนั้นควรตั้งมั่นอยู่ในความยุติธรรม
และวางตัวเป็นกลางให้ประชาชนเชื่อถือต่อไป 18.96 31.82 25.39
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-