จากที่พรรคฝ่ายค้านได้มีการขอยื่นญัตติ การอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล ที่จะมีขึ้นในวันที่ 19 พฤษภาคมนี้ โดยการ
อภิปรายครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างมากที่จะได้รับรู้ถึงความเป็นไปต่างๆของบ้านเมือง “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต
ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วไปที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,335 คน (เชียร์รัฐบาล 385 คน
28.84% เชียร์ฝ่ายค้าน 170 คน 12.73 % เชียร์ทั้งคู่ 310 คน 23.22% ไม่เชียร์ทั้งคู่ 470 คน 35.21%)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 17 | 18 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. การติดตามชมของประชาชนต่อการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในครั้งนี้
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดตามข่าวจากสื่อ 37.66% 58.83% 51.67% 41.57% 47.43%
จากสื่อ หนังสือพิมพ์ 67.94% วิทยุ 16.70% โทรทัศน์ 8.99% เพื่อน/ญาติ 6.37%
อันดับที่ 2 ติดตามชมการถ่ายทอดสดตลอด 41.56% 23.53% 26.67% 20.22% 27.99%
เพราะ ต้องการรู้ข้อมูลความจริงที่เกิดขึ้น,สนใจและติดตามมาโดยตลอด,ได้ชมบรรยากาศในการประชุม ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ติดตาม 15.59% 11.76% 13.33% 25.84% 16.63%
เพราะ การอภิปรายใช้เวลานาน ยืดเยื้อและน่าเบื่อ, เป็นช่วงเวลาทำงานพอดี ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่แน่ใจ 5.19% 5.88% 8.33% 12.37% 7.95%
เพราะ ขึ้นอยู่กับโอกาสและเวลาที่มีนอกเหนือจากการทำงาน ฯลฯ
2. ประชาชนคิดว่าการอภิปรายในครั้งนี้ควรใช้เวลากี่วันจึงจะเหมาะสม
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 3 วัน 33.77% 53.13% 45.83% 38.20% 42.73%
เพราะ ให้โอกาสทั้ง 2 ฝ่ายได้ชี้แจงได้มากขึ้น, ฝ่ายค้านจะได้เสนอประเด็นได้ครบ และฝ่ายรัฐบาลจะได้ตอบเต็มที่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 2 วัน 35.06% 25.00% 31.25% 35.96% 31.82%
เพราะ ถ้าอภิปรายในประเด็นก็คงเพียงพอ,ไม่ทำให้น่าเบื่อจนเกินไป,จะได้นำเฉพาะเนื้อหามาอภิปรายกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 31.17% 21.87% 22.92% 25.84% 25.45%
เพราะ คงมีการยืดเยื้อหาข้อสรุปไม่ได้เหมือนเดิม, ขึ้นอยู่กับประเด็นและเนื้อหาในการอภิปรายมากกว่า ฯลฯ
3. ประชาชนมีความมั่นใจในการซักฟอกของ “ฝ่ายค้าน” มากน้อยเพียงใด
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 49.35% 32.35% 38.89% 47.73% 42.08%
เพราะ รัฐบาลน่าจะมีเหตุผลในการชี้แจงและหาหลักฐานได้ดีกว่า, ฝ่ายค้านยังไม่มีผลงานให้เห็นเป็นรูปธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมั่นใจ 15.59% 44.12% 42.59% 14.77% 29.27%
เพราะ ฝ่ายค้านมีความตั้งใจ และมีการเตรียมข้อมูลมาดี,ต้องทำหน้าที่ให้ดีที่สุดอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นใจ 27.27% 8.82% 7.41% 34.09% 19.40%
เพราะ ฝ่ายค้านยังมีความขัดแย้งกันภายในอยู่, ช่วงหลังยังไม่มีบทบาททางการเมืองมากนัก,ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก 7.79% 14.71% 11.11% 3.41% 9.25%
เพราะ ฝ่ายค้านน่าจะมีการเตรียมข้อมูลมาดีจึงกล้าที่จะอภิปราย, การเตรียมตัวค่อนข้างพร้อมกว่าทุกครั้ง ฯลฯ
4. ประชาชนมั่นใจในการตอบข้อซักถามของ “ฝ่ายรัฐบาล” มากน้อยเพียงใด
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างมั่นใจ 51.28% 44.13% 63.46% 35.23% 48.53%
เพราะ รัฐมนตรีแต่ละท่านเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ทางการเมือง, รัฐบาลพูดในสิ่งที่ทำและเป็นจริงอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 2 มั่นใจมาก 39.74% 11.76% 15.38% 15.91% 20.70%
เพราะ รัฐบาลมีผลงานให้เห็นค่อนข้างมาก และน่าจะมีการเตรียมพร้อมมาอย่างดีแน่นอน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมั่นใจ 5.13% 35.29% 17.31% 23.86% 20.39%
เพราะ ฝ่ายรัฐบาลมีความผิดจริงในบางเรื่อง, ยังไม่ทราบถึงข้อมูลและหลักฐานที่จะอภิปราย,เท่าที่ผ่านมารัฐบาลตอบไม่ตรงประเด็น ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มั่นใจ 3.85% 8.82% 3.85% 25.00% 10.38%
เพราะ รัฐบาลสร้างภาพเก่ง, ใช้เหตุผลเดิมๆซึ่งยังไม่มีความชัดเจนในแต่ละประเด็น ฯลฯ
5. สิ่งที่ประชาชนไม่อยากให้เกิดขึ้นในการอภิปรายครั้งนี้ คือ
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 พูดนอกประเด็น ถกเถียงไปมาจนทำให้เกิดความยืดเยื้อ 15.12% 60.00% 46.15% 56.38% 44.41%
อันดับที่ 2 นำเรื่องส่วนตัวมาพูดในการอภิปราย/การกล่าวหา
ที่เกินความจริง 32.56% 17.14% 15.38% 17.02% 20.52%
อันดับที่ 3 ข้อมูลไม่ชัดเจนทั้ง 2 ฝ่าย/พูดคลุมเครือ 40.69% 11.43% 17.31% 8.51% 19.49%
อันดับที่ 4 การประท้วงที่บ่อยเกินไป และบางกรณี
ประท้วงแบบไร้สาระ 10.47% 8.57% 11.54% 13.83% 11.10%
อันดับที่ 5 การเดินออกจากห้องประชุม/ส.ส.มาไม่ครบองค์ประชุม 1.16% 2.86% 9.62% 4.26% 4.48%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
อภิปรายครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างมากที่จะได้รับรู้ถึงความเป็นไปต่างๆของบ้านเมือง “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต
ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วไปที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,335 คน (เชียร์รัฐบาล 385 คน
28.84% เชียร์ฝ่ายค้าน 170 คน 12.73 % เชียร์ทั้งคู่ 310 คน 23.22% ไม่เชียร์ทั้งคู่ 470 คน 35.21%)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 17 | 18 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. การติดตามชมของประชาชนต่อการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลในครั้งนี้
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดตามข่าวจากสื่อ 37.66% 58.83% 51.67% 41.57% 47.43%
จากสื่อ หนังสือพิมพ์ 67.94% วิทยุ 16.70% โทรทัศน์ 8.99% เพื่อน/ญาติ 6.37%
อันดับที่ 2 ติดตามชมการถ่ายทอดสดตลอด 41.56% 23.53% 26.67% 20.22% 27.99%
เพราะ ต้องการรู้ข้อมูลความจริงที่เกิดขึ้น,สนใจและติดตามมาโดยตลอด,ได้ชมบรรยากาศในการประชุม ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ติดตาม 15.59% 11.76% 13.33% 25.84% 16.63%
เพราะ การอภิปรายใช้เวลานาน ยืดเยื้อและน่าเบื่อ, เป็นช่วงเวลาทำงานพอดี ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่แน่ใจ 5.19% 5.88% 8.33% 12.37% 7.95%
เพราะ ขึ้นอยู่กับโอกาสและเวลาที่มีนอกเหนือจากการทำงาน ฯลฯ
2. ประชาชนคิดว่าการอภิปรายในครั้งนี้ควรใช้เวลากี่วันจึงจะเหมาะสม
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 3 วัน 33.77% 53.13% 45.83% 38.20% 42.73%
เพราะ ให้โอกาสทั้ง 2 ฝ่ายได้ชี้แจงได้มากขึ้น, ฝ่ายค้านจะได้เสนอประเด็นได้ครบ และฝ่ายรัฐบาลจะได้ตอบเต็มที่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 2 วัน 35.06% 25.00% 31.25% 35.96% 31.82%
เพราะ ถ้าอภิปรายในประเด็นก็คงเพียงพอ,ไม่ทำให้น่าเบื่อจนเกินไป,จะได้นำเฉพาะเนื้อหามาอภิปรายกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 31.17% 21.87% 22.92% 25.84% 25.45%
เพราะ คงมีการยืดเยื้อหาข้อสรุปไม่ได้เหมือนเดิม, ขึ้นอยู่กับประเด็นและเนื้อหาในการอภิปรายมากกว่า ฯลฯ
3. ประชาชนมีความมั่นใจในการซักฟอกของ “ฝ่ายค้าน” มากน้อยเพียงใด
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 49.35% 32.35% 38.89% 47.73% 42.08%
เพราะ รัฐบาลน่าจะมีเหตุผลในการชี้แจงและหาหลักฐานได้ดีกว่า, ฝ่ายค้านยังไม่มีผลงานให้เห็นเป็นรูปธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ค่อนข้างมั่นใจ 15.59% 44.12% 42.59% 14.77% 29.27%
เพราะ ฝ่ายค้านมีความตั้งใจ และมีการเตรียมข้อมูลมาดี,ต้องทำหน้าที่ให้ดีที่สุดอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นใจ 27.27% 8.82% 7.41% 34.09% 19.40%
เพราะ ฝ่ายค้านยังมีความขัดแย้งกันภายในอยู่, ช่วงหลังยังไม่มีบทบาททางการเมืองมากนัก,ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก 7.79% 14.71% 11.11% 3.41% 9.25%
เพราะ ฝ่ายค้านน่าจะมีการเตรียมข้อมูลมาดีจึงกล้าที่จะอภิปราย, การเตรียมตัวค่อนข้างพร้อมกว่าทุกครั้ง ฯลฯ
4. ประชาชนมั่นใจในการตอบข้อซักถามของ “ฝ่ายรัฐบาล” มากน้อยเพียงใด
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างมั่นใจ 51.28% 44.13% 63.46% 35.23% 48.53%
เพราะ รัฐมนตรีแต่ละท่านเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ทางการเมือง, รัฐบาลพูดในสิ่งที่ทำและเป็นจริงอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 2 มั่นใจมาก 39.74% 11.76% 15.38% 15.91% 20.70%
เพราะ รัฐบาลมีผลงานให้เห็นค่อนข้างมาก และน่าจะมีการเตรียมพร้อมมาอย่างดีแน่นอน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยมั่นใจ 5.13% 35.29% 17.31% 23.86% 20.39%
เพราะ ฝ่ายรัฐบาลมีความผิดจริงในบางเรื่อง, ยังไม่ทราบถึงข้อมูลและหลักฐานที่จะอภิปราย,เท่าที่ผ่านมารัฐบาลตอบไม่ตรงประเด็น ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มั่นใจ 3.85% 8.82% 3.85% 25.00% 10.38%
เพราะ รัฐบาลสร้างภาพเก่ง, ใช้เหตุผลเดิมๆซึ่งยังไม่มีความชัดเจนในแต่ละประเด็น ฯลฯ
5. สิ่งที่ประชาชนไม่อยากให้เกิดขึ้นในการอภิปรายครั้งนี้ คือ
เชียร์รัฐบาล เชียร์ฝ่ายค้าน เชียร์ทั้งคู่ ไม่เชียร์ทั้งคู่ ภาพรวม
อันดับที่ 1 พูดนอกประเด็น ถกเถียงไปมาจนทำให้เกิดความยืดเยื้อ 15.12% 60.00% 46.15% 56.38% 44.41%
อันดับที่ 2 นำเรื่องส่วนตัวมาพูดในการอภิปราย/การกล่าวหา
ที่เกินความจริง 32.56% 17.14% 15.38% 17.02% 20.52%
อันดับที่ 3 ข้อมูลไม่ชัดเจนทั้ง 2 ฝ่าย/พูดคลุมเครือ 40.69% 11.43% 17.31% 8.51% 19.49%
อันดับที่ 4 การประท้วงที่บ่อยเกินไป และบางกรณี
ประท้วงแบบไร้สาระ 10.47% 8.57% 11.54% 13.83% 11.10%
อันดับที่ 5 การเดินออกจากห้องประชุม/ส.ส.มาไม่ครบองค์ประชุม 1.16% 2.86% 9.62% 4.26% 4.48%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-