หลังจากที่การอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลได้เสร็จสิ้นลง และยังคงมีประเด็นต่างๆที่น่าสนใจและน่าติดตาม อีกมาก โดยเฉพาะการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่อาจจะมีขึ้นหลังจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งนี้ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็น
ของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเกี่ยวกับ “ควันหลงการอภิปรายไม่ไว้วางใจ” จำนวนทั้งสิ้น 1,269 คน (ชาย
728 คน 57.37% หญิง 541 คน 42.63%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 23 | 24 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” รู้สึกอย่างไร? กับการเมืองไทยหลังจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลที่ผ่านมา
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เฉยๆ 42.11% 31.58% 36.85%
เพราะ การเมืองไทยยังคงเหมือนเดิมไม่ต่างอะไรจากที่ผ่านมา ฯลฯ
อันดับที่ 2 สนใจการเมืองมากขึ้น 29.82% 39.47% 34.64%
เพราะ จะได้ศึกษาและรู้จักนักการเมืองดีขึ้นได้เห็นรูปแบบและวิธีการคิดในการทำงานว่าเป็นอย่างไรฯลฯ
อันดับที่ 3 เบื่อการเมืองมากขึ้น 28.07% 28.95% 28.51%
เพราะ ต่างฝ่ายต่างต้องการที่จะเอาชนะกัน/แบ่งพรรคแบ่งพวก,ความคิดเห็นที่ไม่เคยตรงกันในเรื่องการเมือง ฯลฯ
2. ความนิยมของประชาชนที่มีต่อ “รัฐบาล” หลังจากการอภิปราย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เท่าเดิม 49.15% 57.14% 53.15%
เพราะ การทำงานต้องอาศัยระยะเวลาเป็นเครื่องพิสูจน์,เป็นเรื่องปกติที่จะต้องมีการตรวจสอบทุกรัฐบาลที่เข้ามาทำงาน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ดีขึ้น 27.12% 20.78% 23.95%
เพราะ ดูจากการเตรียมตัวของ รมต.แต่ละคนที่นำข้อมูลและเหตุผลที่นำมาชี้แจงค่อนข้างที่จะมีความพร้อม ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 23.73% 22.08% 22.90%
เพราะ ดูเหมือนรัฐบาลจะมีความได้เปรียบกว่าฝ่ายค้านมากไม่ว่าจะเป็นฐานคะแนนหรืออำนาจในการทำงาน ฯลฯ
3. ความนิยมของประชาชนที่มีต่อ “ฝ่ายค้าน” หลังจากการอภิปราย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เท่าเดิม 42.11% 59.74% 50.93%
เพราะ เป็นหน้าที่ของฝ่ายค้านที่จะต้องมีการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง ยุติธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ดีขึ้น 26.31% 23.38% 24.84%
เพราะ เห็นถึงความตั้งใจในการทำงาน,การตรวจสอบรัฐบาลเป็นหน้าที่ที่จะต้องทำอยู่แล้ว,การเตรียมข้อมูลมาดี ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 31.58% 16.88% 24.23%
เพราะ มีการกล่าวพาดพิงบุคคลอื่นบ่อยครั้ง,ต้องการที่จะชิงดีชิงเด่นกันมากกว่า ฯลฯ
4. หลังจากการอภิปรายในครั้งนี้จะทำให้ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้นหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเดิม 55.22% 50.65% 52.94%
เพราะ ขึ้นอยู่กับประเด็นและเรื่องที่น่าสนใจอยู่ในขณะนั้นมากกว่า,รูปแบบของการเมืองไทยยังเหมือนเดิม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ตื่นตัวมากขึ้น 40.30% 45.45% 42.87%
เพราะ อยากเห็นผลงานที่ออกมาว่าจะทำได้ตามที่พูดหรือไม่,การเมืองมีความสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 4.48% 3.90% 4.19%
เพราะ การอภิปรายครั้งนี้มีการประท้วงและขัดแย้งแบบไร้เหตุผลบ่อยครั้งทำให้เกิดความรู้สึกเบื่อ ฯลฯ
5. จากการติดตามข่าวมาโดยตลอด ประชาชนคิดว่า “ฝ่ายรัฐบาล” กับ “ฝ่ายค้าน” ใครได้เปรียบมากกว่ากัน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ฝ่ายรัฐบาลได้เปรียบมากกว่า 45.61% 50.64% 48.13%
เพราะ มีฐานคะแนนเสียงที่มากกว่า,มีผลงานเป็นที่ยอมรับและประชาชนยังคงให้ความไว้วางใจอยู่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.08% 24.69% 26.39%
เพราะ นักการเมืองเท่านั้นที่รู้ดีแก่ใจว่าทำอะไรลงไปบ้าง ส่วนประชาชนได้แค่เพียงรับฟังตามที่ทั้ง 2 ฝ่ายยกเหตุผลมาเท่านั้นฯลฯ
อันดับที่ 3 ดีพอๆกัน 14.04% 14.28% 14.16%
เพราะ หากการโต้แย้งที่เกิดขึ้นเกิดมาจากความตั้งใจจริงในการทำงานเพื่อส่วนรวมของทั้ง 2 ฝ่าย ฯลฯ
อันดับที่ 4 แย่พอๆกัน 8.77% 3.90% 6.33%
เพราะ มีแต่จะทะเลาะกัน ,ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมลดราวาศอก ฯลฯ
อันดับที่ 5 ฝ่ายค้านได้เปรียบมากกว่า 3.50% 6.49% 4.99%
เพราะ เรื่องที่นำมาอภิปรายเป็นเหตุการณ์ที่ทุกคนให้ความสนใจและเกิดขึ้นได้ไม่นาน รัฐบาลยังหาวิธีการแก้ไขไม่ได้ฯลฯ
6. บทเรียนที่ได้จากการอภิปรายในครั้งนี้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 หากการทำงานเป็นไปด้วยความถูกต้องโปร่งใส
ก็ไม่ต้องกลัวการกล่าวหาใดๆทั้งสิ้น 48.14% 44.78% 46.46%
อันดับที่ 2 การทำงานเพื่อส่วนรวมจะต้องมีความอดทนและ
เสียสละอย่างมาก บางครั้งสิ่งที่ถูกกล่าวหาอาจ
ไม่เป็นความจริง 31.48% 35.82% 33.65%
อันดับที่ 3 ควรมีความพร้อมในการเตรียมข้อมูลหลักฐานต่างๆ
เพื่อจะได้นำมาชี้แจงได้ตรงประเด็นและถูกต้อง 20.38% 19.40% 19.89%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่อาจจะมีขึ้นหลังจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งนี้ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็น
ของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเกี่ยวกับ “ควันหลงการอภิปรายไม่ไว้วางใจ” จำนวนทั้งสิ้น 1,269 คน (ชาย
728 คน 57.37% หญิง 541 คน 42.63%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 23 | 24 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” รู้สึกอย่างไร? กับการเมืองไทยหลังจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลที่ผ่านมา
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เฉยๆ 42.11% 31.58% 36.85%
เพราะ การเมืองไทยยังคงเหมือนเดิมไม่ต่างอะไรจากที่ผ่านมา ฯลฯ
อันดับที่ 2 สนใจการเมืองมากขึ้น 29.82% 39.47% 34.64%
เพราะ จะได้ศึกษาและรู้จักนักการเมืองดีขึ้นได้เห็นรูปแบบและวิธีการคิดในการทำงานว่าเป็นอย่างไรฯลฯ
อันดับที่ 3 เบื่อการเมืองมากขึ้น 28.07% 28.95% 28.51%
เพราะ ต่างฝ่ายต่างต้องการที่จะเอาชนะกัน/แบ่งพรรคแบ่งพวก,ความคิดเห็นที่ไม่เคยตรงกันในเรื่องการเมือง ฯลฯ
2. ความนิยมของประชาชนที่มีต่อ “รัฐบาล” หลังจากการอภิปราย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เท่าเดิม 49.15% 57.14% 53.15%
เพราะ การทำงานต้องอาศัยระยะเวลาเป็นเครื่องพิสูจน์,เป็นเรื่องปกติที่จะต้องมีการตรวจสอบทุกรัฐบาลที่เข้ามาทำงาน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ดีขึ้น 27.12% 20.78% 23.95%
เพราะ ดูจากการเตรียมตัวของ รมต.แต่ละคนที่นำข้อมูลและเหตุผลที่นำมาชี้แจงค่อนข้างที่จะมีความพร้อม ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 23.73% 22.08% 22.90%
เพราะ ดูเหมือนรัฐบาลจะมีความได้เปรียบกว่าฝ่ายค้านมากไม่ว่าจะเป็นฐานคะแนนหรืออำนาจในการทำงาน ฯลฯ
3. ความนิยมของประชาชนที่มีต่อ “ฝ่ายค้าน” หลังจากการอภิปราย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เท่าเดิม 42.11% 59.74% 50.93%
เพราะ เป็นหน้าที่ของฝ่ายค้านที่จะต้องมีการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง ยุติธรรม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ดีขึ้น 26.31% 23.38% 24.84%
เพราะ เห็นถึงความตั้งใจในการทำงาน,การตรวจสอบรัฐบาลเป็นหน้าที่ที่จะต้องทำอยู่แล้ว,การเตรียมข้อมูลมาดี ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 31.58% 16.88% 24.23%
เพราะ มีการกล่าวพาดพิงบุคคลอื่นบ่อยครั้ง,ต้องการที่จะชิงดีชิงเด่นกันมากกว่า ฯลฯ
4. หลังจากการอภิปรายในครั้งนี้จะทำให้ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้นหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเดิม 55.22% 50.65% 52.94%
เพราะ ขึ้นอยู่กับประเด็นและเรื่องที่น่าสนใจอยู่ในขณะนั้นมากกว่า,รูปแบบของการเมืองไทยยังเหมือนเดิม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ตื่นตัวมากขึ้น 40.30% 45.45% 42.87%
เพราะ อยากเห็นผลงานที่ออกมาว่าจะทำได้ตามที่พูดหรือไม่,การเมืองมีความสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 แย่ลง 4.48% 3.90% 4.19%
เพราะ การอภิปรายครั้งนี้มีการประท้วงและขัดแย้งแบบไร้เหตุผลบ่อยครั้งทำให้เกิดความรู้สึกเบื่อ ฯลฯ
5. จากการติดตามข่าวมาโดยตลอด ประชาชนคิดว่า “ฝ่ายรัฐบาล” กับ “ฝ่ายค้าน” ใครได้เปรียบมากกว่ากัน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ฝ่ายรัฐบาลได้เปรียบมากกว่า 45.61% 50.64% 48.13%
เพราะ มีฐานคะแนนเสียงที่มากกว่า,มีผลงานเป็นที่ยอมรับและประชาชนยังคงให้ความไว้วางใจอยู่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.08% 24.69% 26.39%
เพราะ นักการเมืองเท่านั้นที่รู้ดีแก่ใจว่าทำอะไรลงไปบ้าง ส่วนประชาชนได้แค่เพียงรับฟังตามที่ทั้ง 2 ฝ่ายยกเหตุผลมาเท่านั้นฯลฯ
อันดับที่ 3 ดีพอๆกัน 14.04% 14.28% 14.16%
เพราะ หากการโต้แย้งที่เกิดขึ้นเกิดมาจากความตั้งใจจริงในการทำงานเพื่อส่วนรวมของทั้ง 2 ฝ่าย ฯลฯ
อันดับที่ 4 แย่พอๆกัน 8.77% 3.90% 6.33%
เพราะ มีแต่จะทะเลาะกัน ,ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมลดราวาศอก ฯลฯ
อันดับที่ 5 ฝ่ายค้านได้เปรียบมากกว่า 3.50% 6.49% 4.99%
เพราะ เรื่องที่นำมาอภิปรายเป็นเหตุการณ์ที่ทุกคนให้ความสนใจและเกิดขึ้นได้ไม่นาน รัฐบาลยังหาวิธีการแก้ไขไม่ได้ฯลฯ
6. บทเรียนที่ได้จากการอภิปรายในครั้งนี้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 หากการทำงานเป็นไปด้วยความถูกต้องโปร่งใส
ก็ไม่ต้องกลัวการกล่าวหาใดๆทั้งสิ้น 48.14% 44.78% 46.46%
อันดับที่ 2 การทำงานเพื่อส่วนรวมจะต้องมีความอดทนและ
เสียสละอย่างมาก บางครั้งสิ่งที่ถูกกล่าวหาอาจ
ไม่เป็นความจริง 31.48% 35.82% 33.65%
อันดับที่ 3 ควรมีความพร้อมในการเตรียมข้อมูลหลักฐานต่างๆ
เพื่อจะได้นำมาชี้แจงได้ตรงประเด็นและถูกต้อง 20.38% 19.40% 19.89%
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-