หลังจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจนายอดิศัย โพธารามิก รมต.ศึกษาฯ เสร็จสิ้นลง ได้มีนโยบายเกี่ยวกับการกวดวิชาว่าทำอย่างไรให้
เด็กไปกวดวิชาน้อยลงและให้เด็กเรียนในโรงเรียนตามปกติไม่มีการสอนพิเศษในโรงเรียน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจ
ความคิดเห็นของผู้ปกครอง นักเรียน/นักศึกษาและครู/อาจารย์ จำนวนทั้งสิ้น 1,208 คน (ผู้ปกครอง 408 คน 33.77% นักเรียน/
นักศึกษา 456 คน 37.75% ครู/อาจารย์ 344 คน 28.48%) ระหว่างวันที่ 24 | 25 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ คิดว่าข้อสอบเอ็นทรานซ์รั่ว สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากโรงเรียนกวดวิชา ใช่หรือไม่ ?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ใช่ 35.19% 44.74% 23.53% 34.48%
เพราะ เป็นการปัดความรับผิดชอบ,เป็นเพียงการเก็งข้อสอบ,มาจากการทุจริตของคนในกระทรวงเอง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 27.77% 35.97% 36.76% 33.51%
เพราะ ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด,อาจเป็นบุคคลภายในเองก็ได้,ข้อสอบที่มาเก็งก็มาจากข้อสอบเก่าๆหลายๆปี ฯลฯ
อันดับที่ 3 ใช่ 37.04% 19.29% 39.71% 32.01%
เพราะ เป็นการสร้างกลยุทธ์ทำให้เด็กที่สอน Ent s ติด, ดึงดูดให้เด็กไปเรียนมากขึ้น,ต้องการสร้างชื่อเสียง ฯลฯ
2. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ คิดว่าโรงเรียนกวดวิชามีความสำคัญมากน้อยเพียงใด ?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างสำคัญ 52.94% 57.52% 52.94% 54.47%
เพราะ สามารถทำให้เรียนรู้และเข้าใจวิชาเรียนให้มากขึ้น,เป็นการเพิ่มเติมจากบทเรียน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยสำคัญ 22.06% 21.24% 22.06% 21.78%
เพราะ เด็กต้องมีความขยันทบทวนบทเรียน,ถามจากครู/อาจารย์ผู้สอนได้,ตั้งใจเรียนในห้องเรียนให้มาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 สำคัญมาก 17.65% 16.81% 17.65% 17.37%
เพราะ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติม,หลักสูตรการสอนในโรงเรียนไม่ทันสมัย,สอนใกล้ชิดมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่สำคัญเลย 7.35% 4.43% 7.35% 6.38%
เพราะ ทุกโรงเรียนมีมาตรฐานการสอนที่ดี,ขึ้นอยู่กับเด็กต้องตั้งใจเรียนให้มาก,สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ฯลฯ
3. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ เห็นด้วยหรือไม่ ? ที่จะทำให้โรงเรียนกวดวิชามีน้อยลง และทำให้เด็กเรียนในโรงเรียนตามปกติมากขึ้น?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 52.54% 44.74% 67.18% 54.82%
เพราะ ผู้ปกครองไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย, เด็กจะได้ตั้งใจเรียนมากขึ้น,ทำให้ครูหันมาพัฒนาการสอนมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 47.46% 55.26% 32.82% 45.18%
เพราะ เด็กบางคนไม่เก่ง ไม่สามารถเข้าใจบทเรียนได้เอง,ควรไปแก้ไขที่ครูและคุณภาพการศึกษาจะดีกว่า ฯลฯ
4. รูปแบบของโรงเรียนกวดวิชาที่ ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ ให้ความสำคัญ
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 กวดวิชาเพื่อเพิ่มเติมความรู้/เพิ่มเกรด 30.34% 24.02% 25.32% 26.57%
อันดับที่ 2 กวดวิชาเพื่อการสอบเอ็นทรานซ์ 24.66% 27.76% 25.14% 25.85%
อันดับที่ 3 กวดวิชาเฉพาะทาง/เฉพาะวิชา 21.55% 24.97% 25.67% 24.06%
อันดับที่ 4 กวดวิชาเพื่อให้เด็กเรียนทันตามหลักสูตร 23.45% 23.25% 23.87% 23.52%
5. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ เห็นว่าการศึกษาไทย ณ วันนี้ พึ่งพาโรงเรียนกวดวิชามากเกินไปหรือไม่ ?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 มากไป 61.67% 56.64% 71.88% 63.39%
เพราะ เด็กไม่ค่อยตั้งใจเรียนเพราะคิดว่าไปเรียนกวดวิชาแล้ว, เป็นค่านิยมของผู้ปกครองมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 2 เหมาะสมแล้ว 31.67% 41.59% 23.43% 32.23%
เพราะ หลักสูตรบางอย่างไม่จำเป็นต้องเรียนที่โรงเรียนอย่างเดียว,ทำให้เข้าใจการเรียนมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 น้อยไป 6.66% 1.77% 4.69% 4.38%
เพราะ เด็กในต่างจังหวัดไม่ได้เรียน,เป็นการเรียนเฉพาะบางกลุ่มที่มีเงินเท่านั้น ฯลฯ
6. การศึกษาไทย ควรแก้ไขปัญหาโรงเรียนกวดวิชาอย่างไร ?
นักเรียน / นักศึกษา
อันดับที่ 1 ควรจัดให้มีการสอนอย่างจริงจังและตรวจสอบคุณภาพของโรงเรียนกวดวิชา 41.30%
อันดับที่ 2 สถาบันการศึกษาควรเสริมสร้างความรู้เพิ่มเติมให้เด็กและครู 26.09%
อันดับที่ 3 จัดระเบียบหลักสูตรการเรียนกวดวิชาให้เหมือนกันทุกโรงเรียน 19.57%
อันดับที่ 4 ยกเลิกระบบการกวดวิชา เพราะสถาบันการศึกษาก็มีจำนวนมากอยู่แล้ว 13.04%
ผู้ปกครอง
อันดับที่ 1 กระทรวงศึกษาฯ ควรพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้มีมาตรฐานเดียวกัน 40.48%
อันดับที่ 2 ยกเลิกหรือลดจำนวนสถาบันกวดวิชาให้น้อยลง/หรือต้องได้รับการรับรองจาก ศธ. 30.95%
อันดับที่ 3 พัฒนาคุณภาพของครู / อาจารย์ผู้สอน 28.57%
ครู / อาจารย์
อันดับที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรในโรงเรียนให้มีคุณภาพ 37.50%
อันดับที่ 2 มีข้อบังคับต่างๆ ที่กำหนดให้ชัดเจนถึงคุณสมบัติของสถาบันกวดวิชา 28.13%
อันดับที่ 3 กระทรวงศึกษาฯ ควรพัฒนาหลักสูตร/คุณภาพโรงเรียนให้มีมาตรฐานเดียวกัน 21.87%
อันดับที่ 4 แก้ไขที่ค่านิยมของเด็กและผู้ปกครอง 12.50%
7. โรงเรียนควรมีการจัดการสอนอย่างไร ?เพื่อไม่ให้เด็กต้องไปเรียนกวดวิชา
นักเรียน / นักศึกษา
อันดับที่ 1 เน้นกระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเพื่อทำให้เด็กได้ความรู้อย่างแท้จริง
และทำให้เป็นเยาวชนที่มีคุณภาพ 51.25%
อันดับที่ 2 ใช้เทคนิคการสอนที่น่าสนใจ ไม่น่าเบื่อ/ทำให้เด็กรู้สึกอยากเรียน 28.75%
อันดับที่ 3 ครูอาจารย์ต้องได้มาตรฐาน ตั้งใจและเอาใจใส่ในการสอนอย่างจริงจัง 11.25%
อันดับที่ 4 ให้มีการเรียนเพิ่มเติมนอกเวลาเรียนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย 8.75%
ผู้ปกครอง
อันดับที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพของครูอาจารย์ในด้านการสอน การทำให้เด็กเข้าใจในบทเรียน 51.02%
อันดับที่ 2 พัฒนาหลักสูตรการเรียนให้น่าสนใจ/คำนึงถึงความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก 40.82%
อันดับที่ 3 สนับสนุนให้มีการเรียนกวดวิชาในโรงเรียน/สถานศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 8.16%
ครู / อาจารย์
อันดับที่ 1 ครูอาจารย์ ต้องตั้งใจที่จะสอนในชั่วโมงเรียนให้มากขึ้นและสอนเด็กอย่างเต็มที่ 43.76%
อันดับที่ 2 สนับสนุนให้มีการเรียนกวดวิชาในโรงเรียน/สถานศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 29.68%
อันดับที่ 3 เพิ่มอัตรากำลังและสวัสดิการเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ 17.18%
อันดับที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพของครูอาจารย์ให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกัน 9.38%
8. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ คิดว่าเป็นไปได้หรือไม่ ? ที่จะกวาดล้างหรือจะไม่ให้มี ร.ร กวดวิชา
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นไปไม่ได้ 73.33% 66.67% 65.67% 68.56%
เพราะ เป็นธุรกิจที่ทำกำไรมากคงกระทบหลายฝ่าย,ร.ร.กวดวิชาไม่ได้ผิดกฎหมาย, ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 21.66% 19.44% 14.93% 18.67%
เพราะ ร.ร.กวดวิชามีมากและบางคนต้องการเรียนรู้เพิ่มเติม,ทุกอย่างควรเป็นไปตามระบบและความถูกต้อง ฯลฯ
อันดับที่ 3 เป็นไปได้ 5.01% 13.89% 19.40% 12.77%
เพราะ ถ้ารัฐบาลทำจริงจังและควบคุมได้,ไม่จำเป็นต้องมีเยอะเกินไป,หลายฝ่ายเห็นว่าไม่จำเป็น ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-
เด็กไปกวดวิชาน้อยลงและให้เด็กเรียนในโรงเรียนตามปกติไม่มีการสอนพิเศษในโรงเรียน “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจ
ความคิดเห็นของผู้ปกครอง นักเรียน/นักศึกษาและครู/อาจารย์ จำนวนทั้งสิ้น 1,208 คน (ผู้ปกครอง 408 คน 33.77% นักเรียน/
นักศึกษา 456 คน 37.75% ครู/อาจารย์ 344 คน 28.48%) ระหว่างวันที่ 24 | 25 พฤษภาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ คิดว่าข้อสอบเอ็นทรานซ์รั่ว สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากโรงเรียนกวดวิชา ใช่หรือไม่ ?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ใช่ 35.19% 44.74% 23.53% 34.48%
เพราะ เป็นการปัดความรับผิดชอบ,เป็นเพียงการเก็งข้อสอบ,มาจากการทุจริตของคนในกระทรวงเอง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 27.77% 35.97% 36.76% 33.51%
เพราะ ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด,อาจเป็นบุคคลภายในเองก็ได้,ข้อสอบที่มาเก็งก็มาจากข้อสอบเก่าๆหลายๆปี ฯลฯ
อันดับที่ 3 ใช่ 37.04% 19.29% 39.71% 32.01%
เพราะ เป็นการสร้างกลยุทธ์ทำให้เด็กที่สอน Ent s ติด, ดึงดูดให้เด็กไปเรียนมากขึ้น,ต้องการสร้างชื่อเสียง ฯลฯ
2. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ คิดว่าโรงเรียนกวดวิชามีความสำคัญมากน้อยเพียงใด ?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 ค่อนข้างสำคัญ 52.94% 57.52% 52.94% 54.47%
เพราะ สามารถทำให้เรียนรู้และเข้าใจวิชาเรียนให้มากขึ้น,เป็นการเพิ่มเติมจากบทเรียน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยสำคัญ 22.06% 21.24% 22.06% 21.78%
เพราะ เด็กต้องมีความขยันทบทวนบทเรียน,ถามจากครู/อาจารย์ผู้สอนได้,ตั้งใจเรียนในห้องเรียนให้มาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 สำคัญมาก 17.65% 16.81% 17.65% 17.37%
เพราะ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติม,หลักสูตรการสอนในโรงเรียนไม่ทันสมัย,สอนใกล้ชิดมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่สำคัญเลย 7.35% 4.43% 7.35% 6.38%
เพราะ ทุกโรงเรียนมีมาตรฐานการสอนที่ดี,ขึ้นอยู่กับเด็กต้องตั้งใจเรียนให้มาก,สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ฯลฯ
3. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ เห็นด้วยหรือไม่ ? ที่จะทำให้โรงเรียนกวดวิชามีน้อยลง และทำให้เด็กเรียนในโรงเรียนตามปกติมากขึ้น?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 52.54% 44.74% 67.18% 54.82%
เพราะ ผู้ปกครองไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย, เด็กจะได้ตั้งใจเรียนมากขึ้น,ทำให้ครูหันมาพัฒนาการสอนมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 47.46% 55.26% 32.82% 45.18%
เพราะ เด็กบางคนไม่เก่ง ไม่สามารถเข้าใจบทเรียนได้เอง,ควรไปแก้ไขที่ครูและคุณภาพการศึกษาจะดีกว่า ฯลฯ
4. รูปแบบของโรงเรียนกวดวิชาที่ ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ ให้ความสำคัญ
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 กวดวิชาเพื่อเพิ่มเติมความรู้/เพิ่มเกรด 30.34% 24.02% 25.32% 26.57%
อันดับที่ 2 กวดวิชาเพื่อการสอบเอ็นทรานซ์ 24.66% 27.76% 25.14% 25.85%
อันดับที่ 3 กวดวิชาเฉพาะทาง/เฉพาะวิชา 21.55% 24.97% 25.67% 24.06%
อันดับที่ 4 กวดวิชาเพื่อให้เด็กเรียนทันตามหลักสูตร 23.45% 23.25% 23.87% 23.52%
5. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ เห็นว่าการศึกษาไทย ณ วันนี้ พึ่งพาโรงเรียนกวดวิชามากเกินไปหรือไม่ ?
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 มากไป 61.67% 56.64% 71.88% 63.39%
เพราะ เด็กไม่ค่อยตั้งใจเรียนเพราะคิดว่าไปเรียนกวดวิชาแล้ว, เป็นค่านิยมของผู้ปกครองมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 2 เหมาะสมแล้ว 31.67% 41.59% 23.43% 32.23%
เพราะ หลักสูตรบางอย่างไม่จำเป็นต้องเรียนที่โรงเรียนอย่างเดียว,ทำให้เข้าใจการเรียนมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 น้อยไป 6.66% 1.77% 4.69% 4.38%
เพราะ เด็กในต่างจังหวัดไม่ได้เรียน,เป็นการเรียนเฉพาะบางกลุ่มที่มีเงินเท่านั้น ฯลฯ
6. การศึกษาไทย ควรแก้ไขปัญหาโรงเรียนกวดวิชาอย่างไร ?
นักเรียน / นักศึกษา
อันดับที่ 1 ควรจัดให้มีการสอนอย่างจริงจังและตรวจสอบคุณภาพของโรงเรียนกวดวิชา 41.30%
อันดับที่ 2 สถาบันการศึกษาควรเสริมสร้างความรู้เพิ่มเติมให้เด็กและครู 26.09%
อันดับที่ 3 จัดระเบียบหลักสูตรการเรียนกวดวิชาให้เหมือนกันทุกโรงเรียน 19.57%
อันดับที่ 4 ยกเลิกระบบการกวดวิชา เพราะสถาบันการศึกษาก็มีจำนวนมากอยู่แล้ว 13.04%
ผู้ปกครอง
อันดับที่ 1 กระทรวงศึกษาฯ ควรพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้มีมาตรฐานเดียวกัน 40.48%
อันดับที่ 2 ยกเลิกหรือลดจำนวนสถาบันกวดวิชาให้น้อยลง/หรือต้องได้รับการรับรองจาก ศธ. 30.95%
อันดับที่ 3 พัฒนาคุณภาพของครู / อาจารย์ผู้สอน 28.57%
ครู / อาจารย์
อันดับที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรในโรงเรียนให้มีคุณภาพ 37.50%
อันดับที่ 2 มีข้อบังคับต่างๆ ที่กำหนดให้ชัดเจนถึงคุณสมบัติของสถาบันกวดวิชา 28.13%
อันดับที่ 3 กระทรวงศึกษาฯ ควรพัฒนาหลักสูตร/คุณภาพโรงเรียนให้มีมาตรฐานเดียวกัน 21.87%
อันดับที่ 4 แก้ไขที่ค่านิยมของเด็กและผู้ปกครอง 12.50%
7. โรงเรียนควรมีการจัดการสอนอย่างไร ?เพื่อไม่ให้เด็กต้องไปเรียนกวดวิชา
นักเรียน / นักศึกษา
อันดับที่ 1 เน้นกระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเพื่อทำให้เด็กได้ความรู้อย่างแท้จริง
และทำให้เป็นเยาวชนที่มีคุณภาพ 51.25%
อันดับที่ 2 ใช้เทคนิคการสอนที่น่าสนใจ ไม่น่าเบื่อ/ทำให้เด็กรู้สึกอยากเรียน 28.75%
อันดับที่ 3 ครูอาจารย์ต้องได้มาตรฐาน ตั้งใจและเอาใจใส่ในการสอนอย่างจริงจัง 11.25%
อันดับที่ 4 ให้มีการเรียนเพิ่มเติมนอกเวลาเรียนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย 8.75%
ผู้ปกครอง
อันดับที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพของครูอาจารย์ในด้านการสอน การทำให้เด็กเข้าใจในบทเรียน 51.02%
อันดับที่ 2 พัฒนาหลักสูตรการเรียนให้น่าสนใจ/คำนึงถึงความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก 40.82%
อันดับที่ 3 สนับสนุนให้มีการเรียนกวดวิชาในโรงเรียน/สถานศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 8.16%
ครู / อาจารย์
อันดับที่ 1 ครูอาจารย์ ต้องตั้งใจที่จะสอนในชั่วโมงเรียนให้มากขึ้นและสอนเด็กอย่างเต็มที่ 43.76%
อันดับที่ 2 สนับสนุนให้มีการเรียนกวดวิชาในโรงเรียน/สถานศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 29.68%
อันดับที่ 3 เพิ่มอัตรากำลังและสวัสดิการเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ 17.18%
อันดับที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพของครูอาจารย์ให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกัน 9.38%
8. ผู้ปกครอง/นักเรียน/ครูอาจารย์ คิดว่าเป็นไปได้หรือไม่ ? ที่จะกวาดล้างหรือจะไม่ให้มี ร.ร กวดวิชา
ผู้ปกครอง นร./นศ. ครู/อาจารย์ ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นไปไม่ได้ 73.33% 66.67% 65.67% 68.56%
เพราะ เป็นธุรกิจที่ทำกำไรมากคงกระทบหลายฝ่าย,ร.ร.กวดวิชาไม่ได้ผิดกฎหมาย, ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 21.66% 19.44% 14.93% 18.67%
เพราะ ร.ร.กวดวิชามีมากและบางคนต้องการเรียนรู้เพิ่มเติม,ทุกอย่างควรเป็นไปตามระบบและความถูกต้อง ฯลฯ
อันดับที่ 3 เป็นไปได้ 5.01% 13.89% 19.40% 12.77%
เพราะ ถ้ารัฐบาลทำจริงจังและควบคุมได้,ไม่จำเป็นต้องมีเยอะเกินไป,หลายฝ่ายเห็นว่าไม่จำเป็น ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-ลจ-