จากที่ราคาน้ำมันเบนซินได้ขึ้นราคาสูงขึ้น จึงทำให้ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรงเพราะว่าราคาสินค้าอุปโภค/บริโภค
ก็ขึ้นราคาตาม ดังนั้นนายกฯทักษิณจึงมีแนวความที่ให้ปิดปั๊มน้ำมันเวลา 22.00 น. เพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน จึงเกิดกระแสวิพากษ์
วิจารณ์กันอย่างกว้างเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า จะช่วยประหยัดพลังงานได้จริงหรือไม่? "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้
สำรวจความคิดเห็นของ “ผู้ใช้รถส่วนตัว” “ผู้ที่ไม่ใช้รถ” และ “ผู้ที่ไม่ใช้รถ” ที่พักอาศัย อยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,286 คน (ผู้ใช้รถส่วนตัว 440 คน 34.21% ผู้ที่ไม่ใช้รถ 533 คน 41.45% ผู้ขับรถรับจ้าง 313 คน 24.34%)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 2 — 3 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “กลุ่มตัวอย่าง” ได้รับผลกระทบจากการที่น้ำมันขึ้นราคาในช่วงนี้หรือไม่?
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลกระทบ 86.25% 37.11% 73.08% 65.48%
เพราะ มีรายจ่ายเพิ่มขึ้นในขณะที่รายได้เท่าเดิม,ราคาสินค้าฉวยโอกาสขึ้นตาม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มีผลกระทบ 13.75% 62.89% 26.92% 34.52%
เพราะ เป็นเวลาที่ไม่ได้ใช้รถยนต์อยู่แล้ว,เป็นเวลาพักผ่อน,ไม่มีความจำเป็นใช้รถยนต์ในเวลานั้น ฯลฯ
2. วิธีประหยัดน้ำมันของ “กลุ่มตัวอย่าง” คือ
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ใช้บริการของ ขสมก./รถไฟฟ้า BTS แทน 24.69% 62.50% 23.08% 36.75%
อันดับที่ 2 ใช้รถยนต์ในยามจำเป็นหรือเร่งด่วน/ใช้รถยนต์ให้น้อยลง 40.75% 18.75% 23.08% 27.53%
อันดับที่ 3 ขับขี่โดยใช้ความเร็วไม่เกิน 80 กม./ชม. 17.28% 9.38% 26.92% 17.86%
อันดับที่ 4 ทางเดียวกันไปด้วยกัน (CARPOLL) 14.81% 7.81% 15.38% 12.67%
อันดับที่ 5 วางแผนก่อนออกเดินทางและตรวจสอบสภาพ
เครื่องยนต์อย่างสม่ำเสมอ 2.47% 1.56% 11.54% 5.19%
3. “กลุ่มตัวอย่าง” คิดว่าการปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะช่วยประหยัดพลังงานได้จริงหรือไม่?
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ได้ช่วยประหยัด 57.50% 33.34% 38.46% 43.10%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ,ผู้ใช้รถยนต์ก็รีบมาเติมก่อน 4 ทุ่มอยู่ดี,ควรแก้ปัญหาที่จำนวนรถยนต์ที่
เพิ่มขึ้นทุกปีดีกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 2 ประหยัดได้ 27.50% 31.18% 53.85% 37.51%
เพราะ เป็นการบังคับให้ประหยัดทั้งการเติมน้ำมันและประหยัดการใช้ไฟฟ้าของสถานประกอบการสถานีน้ำมัน,
ช่วยลดปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 15.00% 35.48% 7.69% 19.39%
เพราะ ขึ้นอยู่กับผู้ใช้รถยนต์ว่าจะมีสำนึกในการประหยัดเท่าใด,ไม่คิดว่าจะเป็นแนวทางในการประหยัดที่ถูกต้อง ฯลฯ
4. การที่ปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะสร้างความเดือดร้อนให้กับ “กลุ่มตัวอย่าง”
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เดือดร้อน 59.49% 68.14% 65.38% 64.34%
เพราะ เป็นช่วงเวลาพักผ่อนคงไม่เดือดร้อนมากเท่าไหร่นัก,ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องใช้รถยนต์ในช่วงนั้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 เดือดร้อน 40.51% 31.86% 34.62% 35.66%
เพราะ หากในยามฉุกเฉินหรือต้องเดินทางไกลอาจเกิดปัญหามากขึ้น ฯลฯ
5. “กลุ่มตัวอย่าง” เห็นด้วยหรือไม่? กับการปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 61.25% 42.86% 53.85% 52.65%
เพราะ เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ,ควรเข้ามาควบคุมปริมาณรถยนต์จะดีกว่า,แนวทางการประหยัดทำได้อีกหลายวิธี ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 22.50% 19.48% 38.46% 26.81%
เพราะ เป็นการประหยัดได้อีกทางหนึ่ง,ช่วยกระตุ้นให้คนวางแผนในการเดินทางมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 16.25% 37.66% 7.69% 20.54%
เพราะ ไม่ได้ใช้รถยนต์ในช่วงนั้นอยู่แล้ว,คิดว่าไม่ใช่แนวทางที่ถูกต้องและคิดว่าไม่ได้ผลเท่าที่ควร ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ก็ขึ้นราคาตาม ดังนั้นนายกฯทักษิณจึงมีแนวความที่ให้ปิดปั๊มน้ำมันเวลา 22.00 น. เพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน จึงเกิดกระแสวิพากษ์
วิจารณ์กันอย่างกว้างเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า จะช่วยประหยัดพลังงานได้จริงหรือไม่? "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้
สำรวจความคิดเห็นของ “ผู้ใช้รถส่วนตัว” “ผู้ที่ไม่ใช้รถ” และ “ผู้ที่ไม่ใช้รถ” ที่พักอาศัย อยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,286 คน (ผู้ใช้รถส่วนตัว 440 คน 34.21% ผู้ที่ไม่ใช้รถ 533 คน 41.45% ผู้ขับรถรับจ้าง 313 คน 24.34%)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 2 — 3 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “กลุ่มตัวอย่าง” ได้รับผลกระทบจากการที่น้ำมันขึ้นราคาในช่วงนี้หรือไม่?
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลกระทบ 86.25% 37.11% 73.08% 65.48%
เพราะ มีรายจ่ายเพิ่มขึ้นในขณะที่รายได้เท่าเดิม,ราคาสินค้าฉวยโอกาสขึ้นตาม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มีผลกระทบ 13.75% 62.89% 26.92% 34.52%
เพราะ เป็นเวลาที่ไม่ได้ใช้รถยนต์อยู่แล้ว,เป็นเวลาพักผ่อน,ไม่มีความจำเป็นใช้รถยนต์ในเวลานั้น ฯลฯ
2. วิธีประหยัดน้ำมันของ “กลุ่มตัวอย่าง” คือ
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ใช้บริการของ ขสมก./รถไฟฟ้า BTS แทน 24.69% 62.50% 23.08% 36.75%
อันดับที่ 2 ใช้รถยนต์ในยามจำเป็นหรือเร่งด่วน/ใช้รถยนต์ให้น้อยลง 40.75% 18.75% 23.08% 27.53%
อันดับที่ 3 ขับขี่โดยใช้ความเร็วไม่เกิน 80 กม./ชม. 17.28% 9.38% 26.92% 17.86%
อันดับที่ 4 ทางเดียวกันไปด้วยกัน (CARPOLL) 14.81% 7.81% 15.38% 12.67%
อันดับที่ 5 วางแผนก่อนออกเดินทางและตรวจสอบสภาพ
เครื่องยนต์อย่างสม่ำเสมอ 2.47% 1.56% 11.54% 5.19%
3. “กลุ่มตัวอย่าง” คิดว่าการปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะช่วยประหยัดพลังงานได้จริงหรือไม่?
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ได้ช่วยประหยัด 57.50% 33.34% 38.46% 43.10%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ,ผู้ใช้รถยนต์ก็รีบมาเติมก่อน 4 ทุ่มอยู่ดี,ควรแก้ปัญหาที่จำนวนรถยนต์ที่
เพิ่มขึ้นทุกปีดีกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 2 ประหยัดได้ 27.50% 31.18% 53.85% 37.51%
เพราะ เป็นการบังคับให้ประหยัดทั้งการเติมน้ำมันและประหยัดการใช้ไฟฟ้าของสถานประกอบการสถานีน้ำมัน,
ช่วยลดปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 15.00% 35.48% 7.69% 19.39%
เพราะ ขึ้นอยู่กับผู้ใช้รถยนต์ว่าจะมีสำนึกในการประหยัดเท่าใด,ไม่คิดว่าจะเป็นแนวทางในการประหยัดที่ถูกต้อง ฯลฯ
4. การที่ปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะสร้างความเดือดร้อนให้กับ “กลุ่มตัวอย่าง”
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เดือดร้อน 59.49% 68.14% 65.38% 64.34%
เพราะ เป็นช่วงเวลาพักผ่อนคงไม่เดือดร้อนมากเท่าไหร่นัก,ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องใช้รถยนต์ในช่วงนั้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 เดือดร้อน 40.51% 31.86% 34.62% 35.66%
เพราะ หากในยามฉุกเฉินหรือต้องเดินทางไกลอาจเกิดปัญหามากขึ้น ฯลฯ
5. “กลุ่มตัวอย่าง” เห็นด้วยหรือไม่? กับการปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม
ผู้ใช้รถส่วนตัว ผู้ที่ไม่ใช้รถ ผู้ขับรถรับจ้าง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 61.25% 42.86% 53.85% 52.65%
เพราะ เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ,ควรเข้ามาควบคุมปริมาณรถยนต์จะดีกว่า,แนวทางการประหยัดทำได้อีกหลายวิธี ฯลฯ
อันดับที่ 2 เห็นด้วย 22.50% 19.48% 38.46% 26.81%
เพราะ เป็นการประหยัดได้อีกทางหนึ่ง,ช่วยกระตุ้นให้คนวางแผนในการเดินทางมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 16.25% 37.66% 7.69% 20.54%
เพราะ ไม่ได้ใช้รถยนต์ในช่วงนั้นอยู่แล้ว,คิดว่าไม่ใช่แนวทางที่ถูกต้องและคิดว่าไม่ได้ผลเท่าที่ควร ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-