จากกรณีที่นายโดนัลด์ รัมสเฟลด์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ ต้องการให้ทหารสหรัฐเข้ามามีบทบาท
ในการปราบปรามการก่อการร้ายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้หลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ออกมา
คัดค้านและไม่เห็นด้วยที่จะให้สหรัฐฯเข้ามาเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าวรวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในภาคใต้ของประเทศไทย
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,124 (ชาย 448 คน 39.86 % หญิง 676 คน 60.14 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่
6 - 7 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กรณีที่สหรัฐฯ จะนำทหารเข้ามาดูแลในภูมิภาคเอเชีย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเป็นการดูหมิ่นศักยภาพของภูมิภาคเอเชียว่าไม่สามารถดูแล ปกป้องตัวเองได้ 36.28% 16.21% 26.24%
อันดับที่ 2 สหรัฐฯมีคู่ปรับค่อนข้างมากหากเข้ามาในภูมิภาคเอเชียอาจทำให้เกิดผลกระทบขึ้นได้/
เหมือนเป็นการชักศึกเข้าบ้าน 26.55% 24.41% 25.48%
อันดับที่ 3 เกิดการแทรกแซงทางการเมืองของประเทศมหาอำนาจ 21.24% 26.88% 24.06%
อันดับที่ 4 ทำให้เกิดความมั่นใจและรู้สึกปลอดภัยขึ้นเมื่อประเทศมหาอำนาจเข้ามาในภูมิภาคเอเชีย 5.31% 21.83% 13.58%
อันดับที่ 5 ไม่เห็นด้วยเพราะเหมือนเป็นการเข้ามาครอบครอง/ขยายฐานอำนาจในภูมิภาคเอเชีย 10.62% 10.67% 10.64%
2. “ประชาชน” คิดว่าเหตุการณ์ความไม่สงบในภูมิภาคเอเชียเป็นปัญหาระดับโลกที่สหรัฐฯ จะต้องเข้ามาดูแลหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เป็นปัญหาระดับโลก 73.66% 72.89% 73.20%
เพราะ เป็นปัญหาภายในประเทศ/ในภูมิภาคเท่านั้นมากกว่า,ไม่ใช่ปัญหารุนแรง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 20.54% 16.74% 18.25%
เพราะ ในอนาคตอาจเป็นปัญหาระดับโลกก็ได้,หากมีการป้องกันไว้แต่เนิ่นๆคงจะดี ฯลฯ
อันดับที่ 3 เป็นปัญหาระดับโลก 5.80% 10.37% 8.55%
เพราะ ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่,หากเกิดความไม่สงบอาจเกิดผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจไปทั่วโลกฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าถ้า สหรัฐฯ เข้ามาดูแลจะทำให้เหตุการณ์บานปลายเหมือนในอิรักหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าเหมือน 51.90% 58.67% 55.97%
เพราะ สหรัฐฯ เป็นประเทศมหาอำนาจการใช้กำลังอาจเป็นชนวนทำให้เกิดปัญหาบานปลายได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 21.03% 27.56% 24.96%
เพราะ ยังไม่รู้จุดประสงค์ที่แน่นอนของสหรัฐที่เข้ามาว่าเป็นอย่างไร,ต้องรอดูไปก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 3 คิดว่าไม่เหมือน 27.07% 13.78% 19.07%
เพราะ ปัญหาในภูมิภาคของเอเชียไม่ได้ร้ายแรงเหมือนในอิรัก,สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ฯลฯ
4. จากที่มีกระแสข่าวว่าวันที่ 15 มิถุนายน 2547 (วันสถาปนารัฐปัตตานี) จะมีการก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้อีกครั้ง “ประชาชน” คิดว่าจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 40.18% 51.19% 46.79%
เพราะ อาจเป็นการสร้างข่าวหรือเป็นเรื่องจริงก็ได้,คาดการณ์ได้ยาก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เกิดขึ้น 50.00% 36.94% 42.16%
เพราะ อาจเป็นเพียงการปล่อยข่าวออกมา,ต้องการสร้างสถานการณ์เพื่อเรียกร้องความสนใจมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 3 เกิดขึ้นจริง 9.82% 11.87% 11.05%
เพราะ อาจเป็นการกลับมาแก้แค้นของกลุ่มที่สูญเสียเมื่อวันที่ 28 เมษายนก็ได้,ถ้าไม่มีเค้าความจริงคงไม่มีข่าวออกมา ฯลฯ
5. “ประชาชน” เห็นด้วยกับคำกล่าวของนายกฯทักษิณหรือไม่? ที่กล่าวว่า “ประเทศไทยไม่มีความจำเป็นและไม่มี
อะไรที่เกี่ยวกับเรื่องที่เป็นการก่อการร้ายสากลใดๆ เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 81.84% 64.43% 71.38%
เพราะ ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้รุนแรงเหมือนกับต่างชาติ,นายกฯสามารถจัดการได้,ถ้าทุกคนร่วมมือกันแก้ปัญหา ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 8.74% 20.68% 15.92%
เพราะ ไม่ควรมองข้ามสิ่งเล็กๆน้อยๆที่ยังไม่เกิดขึ้น,ปัญหาภาคใต้ยังไม่สามารถแก้ไขได้เลย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 9.42% 14.88% 12.70%
เพราะ บางเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในภาคใต้มีชาวต่างชาติเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย,สิ่งที่ไม่คาดคิดอาจเกิดขึ้นได้เสมอ ฯลฯ
6. โดยสรุปแล้ว “ประชาชน” ต้องการให้สหรัฐฯ เข้ามาดูแลในภูมิภาคเอเชียหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ต้องการ 78.52% 82.04% 80.63%
เพราะ คิดว่าในแต่ละประเทศสามารถจัดการกับปัญหาของประเทศตนเองได้,ปัญหาไม่ได้รุนแรงมาก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 11.41% 13.17% 12.47%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมากกว่า,เป็นเรื่องของการเมืองและการทหารที่เข้ามาดูแล ฯลฯ
อันดับที่ 3 ต้องการ 10.07% 4.79% 6.91%
เพราะ ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจะได้สงบลง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ในการปราบปรามการก่อการร้ายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้หลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ออกมา
คัดค้านและไม่เห็นด้วยที่จะให้สหรัฐฯเข้ามาเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าวรวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในภาคใต้ของประเทศไทย
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
จำนวนทั้งสิ้น 1,124 (ชาย 448 คน 39.86 % หญิง 676 คน 60.14 %) โดยสำรวจระหว่างวันที่
6 - 7 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กรณีที่สหรัฐฯ จะนำทหารเข้ามาดูแลในภูมิภาคเอเชีย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเป็นการดูหมิ่นศักยภาพของภูมิภาคเอเชียว่าไม่สามารถดูแล ปกป้องตัวเองได้ 36.28% 16.21% 26.24%
อันดับที่ 2 สหรัฐฯมีคู่ปรับค่อนข้างมากหากเข้ามาในภูมิภาคเอเชียอาจทำให้เกิดผลกระทบขึ้นได้/
เหมือนเป็นการชักศึกเข้าบ้าน 26.55% 24.41% 25.48%
อันดับที่ 3 เกิดการแทรกแซงทางการเมืองของประเทศมหาอำนาจ 21.24% 26.88% 24.06%
อันดับที่ 4 ทำให้เกิดความมั่นใจและรู้สึกปลอดภัยขึ้นเมื่อประเทศมหาอำนาจเข้ามาในภูมิภาคเอเชีย 5.31% 21.83% 13.58%
อันดับที่ 5 ไม่เห็นด้วยเพราะเหมือนเป็นการเข้ามาครอบครอง/ขยายฐานอำนาจในภูมิภาคเอเชีย 10.62% 10.67% 10.64%
2. “ประชาชน” คิดว่าเหตุการณ์ความไม่สงบในภูมิภาคเอเชียเป็นปัญหาระดับโลกที่สหรัฐฯ จะต้องเข้ามาดูแลหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เป็นปัญหาระดับโลก 73.66% 72.89% 73.20%
เพราะ เป็นปัญหาภายในประเทศ/ในภูมิภาคเท่านั้นมากกว่า,ไม่ใช่ปัญหารุนแรง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 20.54% 16.74% 18.25%
เพราะ ในอนาคตอาจเป็นปัญหาระดับโลกก็ได้,หากมีการป้องกันไว้แต่เนิ่นๆคงจะดี ฯลฯ
อันดับที่ 3 เป็นปัญหาระดับโลก 5.80% 10.37% 8.55%
เพราะ ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่,หากเกิดความไม่สงบอาจเกิดผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจไปทั่วโลกฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าถ้า สหรัฐฯ เข้ามาดูแลจะทำให้เหตุการณ์บานปลายเหมือนในอิรักหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าเหมือน 51.90% 58.67% 55.97%
เพราะ สหรัฐฯ เป็นประเทศมหาอำนาจการใช้กำลังอาจเป็นชนวนทำให้เกิดปัญหาบานปลายได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 21.03% 27.56% 24.96%
เพราะ ยังไม่รู้จุดประสงค์ที่แน่นอนของสหรัฐที่เข้ามาว่าเป็นอย่างไร,ต้องรอดูไปก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 3 คิดว่าไม่เหมือน 27.07% 13.78% 19.07%
เพราะ ปัญหาในภูมิภาคของเอเชียไม่ได้ร้ายแรงเหมือนในอิรัก,สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ฯลฯ
4. จากที่มีกระแสข่าวว่าวันที่ 15 มิถุนายน 2547 (วันสถาปนารัฐปัตตานี) จะมีการก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้อีกครั้ง “ประชาชน” คิดว่าจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 40.18% 51.19% 46.79%
เพราะ อาจเป็นการสร้างข่าวหรือเป็นเรื่องจริงก็ได้,คาดการณ์ได้ยาก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เกิดขึ้น 50.00% 36.94% 42.16%
เพราะ อาจเป็นเพียงการปล่อยข่าวออกมา,ต้องการสร้างสถานการณ์เพื่อเรียกร้องความสนใจมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 3 เกิดขึ้นจริง 9.82% 11.87% 11.05%
เพราะ อาจเป็นการกลับมาแก้แค้นของกลุ่มที่สูญเสียเมื่อวันที่ 28 เมษายนก็ได้,ถ้าไม่มีเค้าความจริงคงไม่มีข่าวออกมา ฯลฯ
5. “ประชาชน” เห็นด้วยกับคำกล่าวของนายกฯทักษิณหรือไม่? ที่กล่าวว่า “ประเทศไทยไม่มีความจำเป็นและไม่มี
อะไรที่เกี่ยวกับเรื่องที่เป็นการก่อการร้ายสากลใดๆ เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 81.84% 64.43% 71.38%
เพราะ ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้รุนแรงเหมือนกับต่างชาติ,นายกฯสามารถจัดการได้,ถ้าทุกคนร่วมมือกันแก้ปัญหา ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 8.74% 20.68% 15.92%
เพราะ ไม่ควรมองข้ามสิ่งเล็กๆน้อยๆที่ยังไม่เกิดขึ้น,ปัญหาภาคใต้ยังไม่สามารถแก้ไขได้เลย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 9.42% 14.88% 12.70%
เพราะ บางเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในภาคใต้มีชาวต่างชาติเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย,สิ่งที่ไม่คาดคิดอาจเกิดขึ้นได้เสมอ ฯลฯ
6. โดยสรุปแล้ว “ประชาชน” ต้องการให้สหรัฐฯ เข้ามาดูแลในภูมิภาคเอเชียหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ต้องการ 78.52% 82.04% 80.63%
เพราะ คิดว่าในแต่ละประเทศสามารถจัดการกับปัญหาของประเทศตนเองได้,ปัญหาไม่ได้รุนแรงมาก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 11.41% 13.17% 12.47%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมากกว่า,เป็นเรื่องของการเมืองและการทหารที่เข้ามาดูแล ฯลฯ
อันดับที่ 3 ต้องการ 10.07% 4.79% 6.91%
เพราะ ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจะได้สงบลง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-