จากที่ฝ่ายค้านได้มีการเดินสายเพื่อพบปะกับประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการนำข้อมูลที่เคยอภิปรายฝ่ายรัฐบาล
เมื่อคราวที่การอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลมาพูดให้กับประชาชนฟัง ซึ่งเหมือนกับว่าเป็นการเล่นเกมนอกสภาของฝ่ายค้าน
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เกี่ยวกับการเล่นเกมนอกสภาของฝ่ายค้าน จำนวนทั้งสิ้น 1,141 (ชาย 514 คน 45.05 % หญิง 627 คน 54.95 %)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 6 - 9 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กรณีที่ฝ่ายค้านเล่นเกมนอกสภาไปอภิปรายที่ จ.เชียงใหม่
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นปกติของการเมืองที่มีการโจมตีกัน 27.27% 35.59% 31.43%
อันดับที่ 2 เป็นการไม่เหมาะสมมีอะไรควรพูดกันในสภามากกว่า 22.73% 27.13% 24.93%
อันดับที่ 3 เป็นสิทธิ์ของฝ่ายค้านที่สามารถทำได้ 22.73% 13.56% 18.14%
อันดับที่ 4 อาจมีความเกี่ยวเนื่องกับการหาเสียงของฝ่ายค้าน 18.18% 11.86% 15.02%
อันดับที่ 5 เป็นทางออกของฝ่ายค้านถ้าไม่สามารถอภิปรายในสภาได้ 9.09% 11.86% 10.48%
2. “ผลดี” ของการอภิปรายนอกสภาของฝ่ายค้าน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ประชาชนได้รับทราบข้อมูล/ข้อเท็จจริงมากขึ้น 57.89% 42.86% 50.38%
อันดับที่ 2 เปิดโอกาสให้ประชาชนได้ซักถามโดยตรง 21.06% 28.57% 24.81%
อันดับที่ 3 อาจทำให้คะแนนนิยมเพิ่มขึ้นเพราะรัฐบาลอยู่ในช่วงขาลง 5.26% 14.29% 9.77%
อันดับที่ 4 ได้รับฟังข้อมูลอย่างเต็มที่ ไม่มีการประท้วงแทรกขึ้นมา 10.53% 7.14% 8.84%
อันดับที่ 5 เป็นการทำหน้าที่อย่างหนึ่งในการตรวจสอบรัฐบาล 5.26% 7.14% 6.20%
3. “ผลเสีย” ของการอภิปรายนอกสภาของฝ่ายค้าน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 หากข้อมูลไม่เป็นความจริงอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิด 37.04% 25.86% 31.45%
อันดับที่ 2 สิ้นเปลืองงบประมาณ/เสียเวลา 25.93% 20.69% 23.31%
อันดับที่ 3 ประชาชนอาจเกิดความเบื่อหน่าย 22.22% 22.41% 22.32%
อันดับที่ 4 อาจทำให้เกิดการบานปลายและไม่มีข้อยุติ 11.11% 18.97% 15.04%
อันดับที่ 5 รัฐบาลอาจให้เป็นช่องว่างในการโจมตี 3.70% 12.07% 7.88%
4. “ประชาชน” เชื่อข้อมูลที่ฝ่ายค้านนำมาอภิปรายหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 58.98% 66.96% 62.97%
เพราะ ยังไม่มีความมั่นใจในข้อมูลต่างๆที่นำมาอภิปราย,ต่างฝ่ายต่างก็หาผลประโยชน์ใส่ตัวเอง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เชื่อ 25.64% 15.18% 20.41%
เพราะ หลักฐานขาดความน่าเชื่อถือ,ไม่สามารถตรวจสอบได้,เป็นการโจมตีทางการเมือง ฯลฯ
อันดับที่ 3 เชื่อ 15.38% 17.86% 16.62%
เพราะ เคยทราบข้อมูลมาบ้างจากการติดตามข่าว,ถ้าไม่เป็นความจริงคงไม่กล้านำมาพูดผ่านสื่อมวลชน ฯลฯ
5. “ประชาชน” เห็นด้วยหรือไม่ที่ฝ่ายค้านไปอภิปรายรัฐบาลที่ จ.เชียงใหม่
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 42.86% 44.64% 43.75%
เพราะ เป็นการพูดโจมตีของฝ่ายค้านฝ่ายเดียวโดยที่ฝ่ายรัฐบาลไม่มีโอกาสชี้แจง,ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 30.95% 28.57% 29.76%
เพราะ ไม่ทราบเหตุผลที่แท้จริงของฝ่ายค้านว่าทำเพื่ออะไร ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วย 26.19% 26.79% 26.49%
เพราะ เป็นการเข้าถึงทำให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลอีกด้านของรัฐบาล,เป็นสิทธิ์ที่จะทำได้ ฯลฯ
6. “ประชาชน” คิดว่าการอภิปรายครั้งนี้ ส่งผลกระทบต่อภาพพจน์ของฝ่ายค้านในด้านดีหรือด้านลบกว่ากัน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอๆกัน 28.57% 49.11% 38.84%
เพราะ การประชุมนอกสภากับในสภาไม่แตกต่างกันมาก,เนื้อหาในการประชุมเหมือนเดิม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 38.09% 16.96% 27.52%
เพราะ แล้วแต่ละมุมมองของแต่ละคน,มีทั้งผลดีและผลเสีย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ด้านลบมากกว่า 19.05% 25.00% 22.03%
เพราะ ทำให้มองว่าฝ่ายค้านมุ่งโจมตีอย่างเดียว,จ.เชียงใหม่เป็นฐานเสียงของรัฐบาล ฯลฯ
อันดับที่ 4 ด้านดีมากกว่า 14.29% 8.93% 11.61%
เพราะ เป็นการทำให้ประชาชนได้ทราบข้อมูลที่ละเอียด,เป็นการเร่งสร้างผลงาน ฯลฯ
7. “ประชาชน” คิดว่าการอภิปรายนอกสภา มีผลกระทบต่อรัฐบาลหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่มีผลกระทบ 40.00% 30.09% 35.05%
เพราะ ประชาชนส่วนใหญ่ยังชื่นชอบในรัฐบาลอยู่,รัฐบาลคงมีวิธีตอบโต้ดี ฯลฯ
อันดับที่ 2 มีผลกระทบทำให้ความนิยมรัฐบาลลดลง 27.50% 40.71% 34.11%
เพราะ ทำให้เห็นจุดบกพร่องของรัฐบาลมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 32.50% 29.20% 30.84%
เพราะ ไม่มั่นใจว่าข้อมูลที่นำมาอภิปรายถูกต้องหรือไม่,ถ้ารัฐบาลทำงานดีจริงก็ไม่ส่งผลอะไร ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
เมื่อคราวที่การอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลมาพูดให้กับประชาชนฟัง ซึ่งเหมือนกับว่าเป็นการเล่นเกมนอกสภาของฝ่ายค้าน
“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เกี่ยวกับการเล่นเกมนอกสภาของฝ่ายค้าน จำนวนทั้งสิ้น 1,141 (ชาย 514 คน 45.05 % หญิง 627 คน 54.95 %)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 6 - 9 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดอย่างไร? กรณีที่ฝ่ายค้านเล่นเกมนอกสภาไปอภิปรายที่ จ.เชียงใหม่
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นปกติของการเมืองที่มีการโจมตีกัน 27.27% 35.59% 31.43%
อันดับที่ 2 เป็นการไม่เหมาะสมมีอะไรควรพูดกันในสภามากกว่า 22.73% 27.13% 24.93%
อันดับที่ 3 เป็นสิทธิ์ของฝ่ายค้านที่สามารถทำได้ 22.73% 13.56% 18.14%
อันดับที่ 4 อาจมีความเกี่ยวเนื่องกับการหาเสียงของฝ่ายค้าน 18.18% 11.86% 15.02%
อันดับที่ 5 เป็นทางออกของฝ่ายค้านถ้าไม่สามารถอภิปรายในสภาได้ 9.09% 11.86% 10.48%
2. “ผลดี” ของการอภิปรายนอกสภาของฝ่ายค้าน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ประชาชนได้รับทราบข้อมูล/ข้อเท็จจริงมากขึ้น 57.89% 42.86% 50.38%
อันดับที่ 2 เปิดโอกาสให้ประชาชนได้ซักถามโดยตรง 21.06% 28.57% 24.81%
อันดับที่ 3 อาจทำให้คะแนนนิยมเพิ่มขึ้นเพราะรัฐบาลอยู่ในช่วงขาลง 5.26% 14.29% 9.77%
อันดับที่ 4 ได้รับฟังข้อมูลอย่างเต็มที่ ไม่มีการประท้วงแทรกขึ้นมา 10.53% 7.14% 8.84%
อันดับที่ 5 เป็นการทำหน้าที่อย่างหนึ่งในการตรวจสอบรัฐบาล 5.26% 7.14% 6.20%
3. “ผลเสีย” ของการอภิปรายนอกสภาของฝ่ายค้าน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 หากข้อมูลไม่เป็นความจริงอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิด 37.04% 25.86% 31.45%
อันดับที่ 2 สิ้นเปลืองงบประมาณ/เสียเวลา 25.93% 20.69% 23.31%
อันดับที่ 3 ประชาชนอาจเกิดความเบื่อหน่าย 22.22% 22.41% 22.32%
อันดับที่ 4 อาจทำให้เกิดการบานปลายและไม่มีข้อยุติ 11.11% 18.97% 15.04%
อันดับที่ 5 รัฐบาลอาจให้เป็นช่องว่างในการโจมตี 3.70% 12.07% 7.88%
4. “ประชาชน” เชื่อข้อมูลที่ฝ่ายค้านนำมาอภิปรายหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 58.98% 66.96% 62.97%
เพราะ ยังไม่มีความมั่นใจในข้อมูลต่างๆที่นำมาอภิปราย,ต่างฝ่ายต่างก็หาผลประโยชน์ใส่ตัวเอง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เชื่อ 25.64% 15.18% 20.41%
เพราะ หลักฐานขาดความน่าเชื่อถือ,ไม่สามารถตรวจสอบได้,เป็นการโจมตีทางการเมือง ฯลฯ
อันดับที่ 3 เชื่อ 15.38% 17.86% 16.62%
เพราะ เคยทราบข้อมูลมาบ้างจากการติดตามข่าว,ถ้าไม่เป็นความจริงคงไม่กล้านำมาพูดผ่านสื่อมวลชน ฯลฯ
5. “ประชาชน” เห็นด้วยหรือไม่ที่ฝ่ายค้านไปอภิปรายรัฐบาลที่ จ.เชียงใหม่
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 42.86% 44.64% 43.75%
เพราะ เป็นการพูดโจมตีของฝ่ายค้านฝ่ายเดียวโดยที่ฝ่ายรัฐบาลไม่มีโอกาสชี้แจง,ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 30.95% 28.57% 29.76%
เพราะ ไม่ทราบเหตุผลที่แท้จริงของฝ่ายค้านว่าทำเพื่ออะไร ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วย 26.19% 26.79% 26.49%
เพราะ เป็นการเข้าถึงทำให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลอีกด้านของรัฐบาล,เป็นสิทธิ์ที่จะทำได้ ฯลฯ
6. “ประชาชน” คิดว่าการอภิปรายครั้งนี้ ส่งผลกระทบต่อภาพพจน์ของฝ่ายค้านในด้านดีหรือด้านลบกว่ากัน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอๆกัน 28.57% 49.11% 38.84%
เพราะ การประชุมนอกสภากับในสภาไม่แตกต่างกันมาก,เนื้อหาในการประชุมเหมือนเดิม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 38.09% 16.96% 27.52%
เพราะ แล้วแต่ละมุมมองของแต่ละคน,มีทั้งผลดีและผลเสีย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ด้านลบมากกว่า 19.05% 25.00% 22.03%
เพราะ ทำให้มองว่าฝ่ายค้านมุ่งโจมตีอย่างเดียว,จ.เชียงใหม่เป็นฐานเสียงของรัฐบาล ฯลฯ
อันดับที่ 4 ด้านดีมากกว่า 14.29% 8.93% 11.61%
เพราะ เป็นการทำให้ประชาชนได้ทราบข้อมูลที่ละเอียด,เป็นการเร่งสร้างผลงาน ฯลฯ
7. “ประชาชน” คิดว่าการอภิปรายนอกสภา มีผลกระทบต่อรัฐบาลหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่มีผลกระทบ 40.00% 30.09% 35.05%
เพราะ ประชาชนส่วนใหญ่ยังชื่นชอบในรัฐบาลอยู่,รัฐบาลคงมีวิธีตอบโต้ดี ฯลฯ
อันดับที่ 2 มีผลกระทบทำให้ความนิยมรัฐบาลลดลง 27.50% 40.71% 34.11%
เพราะ ทำให้เห็นจุดบกพร่องของรัฐบาลมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 32.50% 29.20% 30.84%
เพราะ ไม่มั่นใจว่าข้อมูลที่นำมาอภิปรายถูกต้องหรือไม่,ถ้ารัฐบาลทำงานดีจริงก็ไม่ส่งผลอะไร ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-