แท็ก
สวนดุสิตโพล
การประกาศขึ้นราคาน้ำมันที่มีผลตั้งแต่วันที่ 8 มิ.ย. ทำให้ราคาน้ำมันเบนซินในประเทศสูงที่สุดตั้งแต่มีการจำหน่ายน้ำมัน
ในประเทศ คือลิตรละ 18.19 บาท รมว.พลังงานจึงได้ออกมาตรการ 5 มาตรการ เพื่อเป็นการประยัดน้ำมันและการใช้พลังงาน
ที่ฟุ่มเฟือย “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑลเกี่ยวกับ 5 มาตรการนี้ จำนวนทั้งสิ้น 1,288 (ชาย 532 คน 41.30 % หญิง 756 คน 58.70 %)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 8 - 9 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. มาตรการในการประหยัดน้ำมันที่ “ประชาชน” คิดว่าได้ผลมากที่สุด คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ปิดไฟป้ายโฆษณาหลัง 22.00 น. 29.35% 27.56% 28.46%
อันดับที่ 2 ให้ข้าราชการประหยัดพลังงานประมาณ 10 % 22.53% 21.60% 22.06%
อันดับที่ 3 ปิดปั๊มโดยสมัครใจ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. — 05.00 น. 19.87% 18.68% 18.28%
อันดับที่ 4 ปิดไฟถนนในบางสาย 10% 13.46% 16.97% 15.21%
อันดับที่ 5 เพิ่มภาษีป้ายวงกลมรถยนต์ส่วนบุคคลขนาด 2,500 ซีซี 14.79% 15.19% 14.99%
2. “ผลดี” และ “ผลเสีย” ของมาตรการในการประหยัดน้ำมันในทัศนะของ “ประชาชน” คือ
? ผลดี
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการช่วยประเทศชาติประหยัดพลังงานได้มาก 52.63% 42.86% 47.75%
อันดับที่ 2 ช่วยลดค่าใช้จ่ายของประเทศลงได้ 18.42% 14.29% 16.35%
อันดับที่ 3 ทำให้ประชาชนหันมาตระหนักในการประหยัดพลังงานมากขึ้น 13.16% 14.29% 13.73%
อันดับที่ 4 เป็นการลดปริมาณการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นลง 10.53% 16.06% 13.29%
อันดับที่ 5 ช่วยลดมลพิษ 5.26% 12.50% 8.88%
? ผลเสีย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 บางมาตรการอาจก่อให้เกิดปัญหาตามมาเช่น อาชญากรรม อุบัติเหตุ 27.78% 33.33% 30.55%
อันดับที่ 2 อาจมีการเสียผลประโยชน์ทางด้านธุรกิจเกิดขึ้น 38.89% 18.33% 28.61%
อันดับที่ 3 เป็นการเพิ่มภาระให้กับประชาชนและส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนไทย 11.11% 25.00% 18.05%
อันดับที่ 4 ประชาชนที่จำเป็นจะต้องเดินทางไกลอาจเกิดปัญหาได้ 16.67% 8.34% 12.51%
อันดับที่ 5 ผู้ที่ประกอบอาชีพตอนกลางคืนหรือต้องกลับบ้านดึกอาจได้รับความเดือดร้อน 5.55% 15.00% 10.28%
3. “ประชาชน” คิดว่ามาตรการทั้ง 5 มาตรการจะสามารถช่วยลด/กระตุ้นให้เกิดการประหยัดพลังงานได้มากน้อยเพียงใด
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลด/กระตุ้นได้น้อย 51.52% 45.50% 48.51%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ,บางคนมีความจำเป็นต้องใช้ ต้องเดินทางตลอด,เป็นความเคยชินของคนไทย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ลด/กระตุ้นได้มาก 39.39% 42.33% 40.86%
เพราะ ทำให้ทุกคนตระหนักว่าอนาคตเราอาจจะไม่มีพลังงานใช้,ปัจจุบันคนไทยใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ได้เลย 9.09% 12.17% 10.63%
เพราะ มีความจำเป็นจะต้องใช้,เป็นความเคยชินและเป็นนิสัยของคนที่อาจจะไม่รู้จักการประหยัดมาตั้งแต่ต้น ฯลฯ
4. “ประชาชน” เห็นด้วยกับทั้ง 5 มาตรการนี้หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 51.52% 47.85% 49.69%
เพราะ อย่างน้อยก็เป็นการประหยัดพลังงานได้ส่วนหนึ่ง,เพื่อความอยู่รอดของประเทศชาติ,จะได้ประหยัดและ
เห็นความสำคัญของพลังงานมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 30.30% 24.73% 27.51%
เพราะ การประหยัดจะต้องมาจากการสร้างจิตสำนึกของประชาชนจะดีกว่า,บางข้อเป็นการเอาเปรียบ
ประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 18.18% 27.42% 22.80%
เพราะ บางข้อยังมีจุดด้อย,บางมาตรการก็ดีแต่บางข้ออาจเกิดโทษตามมา,ไม่มั่นใจว่าจะทำได้จริง ฯลฯ
5. สิ่งที่ “ประชาชน” วิตกเกี่ยวกับมาตรการทั้ง 5 มาตรการ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความปลอดภัยของประชาชนเพราะบางมาตรการอาจก่อให้เกิด
ปัญหาอื่นๆตามมาภายหลังเช่น อาชญากรรม อุบัติเหตุ 56.25% 52.38% 54.32%
อันดับที่ 2 คนที่ทำงานกลางคืนอาจไม่ได้รับความสะดวกในการเดินทาง
หรือด้านการบริการอื่นๆ 21.88% 17.86% 19.87%
อันดับที่ 3 เมื่อมีความจำเป็นที่ต้องใช้ไฟหรือน้ำมันยามที่คับขันจะทำอย่างไร 12.50% 17.86% 15.18%
อันดับที่ 4 อาจไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชนมากนัก 9.37% 11.90% 10.63%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ในประเทศ คือลิตรละ 18.19 บาท รมว.พลังงานจึงได้ออกมาตรการ 5 มาตรการ เพื่อเป็นการประยัดน้ำมันและการใช้พลังงาน
ที่ฟุ่มเฟือย “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑลเกี่ยวกับ 5 มาตรการนี้ จำนวนทั้งสิ้น 1,288 (ชาย 532 คน 41.30 % หญิง 756 คน 58.70 %)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 8 - 9 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. มาตรการในการประหยัดน้ำมันที่ “ประชาชน” คิดว่าได้ผลมากที่สุด คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ปิดไฟป้ายโฆษณาหลัง 22.00 น. 29.35% 27.56% 28.46%
อันดับที่ 2 ให้ข้าราชการประหยัดพลังงานประมาณ 10 % 22.53% 21.60% 22.06%
อันดับที่ 3 ปิดปั๊มโดยสมัครใจ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. — 05.00 น. 19.87% 18.68% 18.28%
อันดับที่ 4 ปิดไฟถนนในบางสาย 10% 13.46% 16.97% 15.21%
อันดับที่ 5 เพิ่มภาษีป้ายวงกลมรถยนต์ส่วนบุคคลขนาด 2,500 ซีซี 14.79% 15.19% 14.99%
2. “ผลดี” และ “ผลเสีย” ของมาตรการในการประหยัดน้ำมันในทัศนะของ “ประชาชน” คือ
? ผลดี
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นการช่วยประเทศชาติประหยัดพลังงานได้มาก 52.63% 42.86% 47.75%
อันดับที่ 2 ช่วยลดค่าใช้จ่ายของประเทศลงได้ 18.42% 14.29% 16.35%
อันดับที่ 3 ทำให้ประชาชนหันมาตระหนักในการประหยัดพลังงานมากขึ้น 13.16% 14.29% 13.73%
อันดับที่ 4 เป็นการลดปริมาณการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นลง 10.53% 16.06% 13.29%
อันดับที่ 5 ช่วยลดมลพิษ 5.26% 12.50% 8.88%
? ผลเสีย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 บางมาตรการอาจก่อให้เกิดปัญหาตามมาเช่น อาชญากรรม อุบัติเหตุ 27.78% 33.33% 30.55%
อันดับที่ 2 อาจมีการเสียผลประโยชน์ทางด้านธุรกิจเกิดขึ้น 38.89% 18.33% 28.61%
อันดับที่ 3 เป็นการเพิ่มภาระให้กับประชาชนและส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนไทย 11.11% 25.00% 18.05%
อันดับที่ 4 ประชาชนที่จำเป็นจะต้องเดินทางไกลอาจเกิดปัญหาได้ 16.67% 8.34% 12.51%
อันดับที่ 5 ผู้ที่ประกอบอาชีพตอนกลางคืนหรือต้องกลับบ้านดึกอาจได้รับความเดือดร้อน 5.55% 15.00% 10.28%
3. “ประชาชน” คิดว่ามาตรการทั้ง 5 มาตรการจะสามารถช่วยลด/กระตุ้นให้เกิดการประหยัดพลังงานได้มากน้อยเพียงใด
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลด/กระตุ้นได้น้อย 51.52% 45.50% 48.51%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ,บางคนมีความจำเป็นต้องใช้ ต้องเดินทางตลอด,เป็นความเคยชินของคนไทย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ลด/กระตุ้นได้มาก 39.39% 42.33% 40.86%
เพราะ ทำให้ทุกคนตระหนักว่าอนาคตเราอาจจะไม่มีพลังงานใช้,ปัจจุบันคนไทยใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ได้เลย 9.09% 12.17% 10.63%
เพราะ มีความจำเป็นจะต้องใช้,เป็นความเคยชินและเป็นนิสัยของคนที่อาจจะไม่รู้จักการประหยัดมาตั้งแต่ต้น ฯลฯ
4. “ประชาชน” เห็นด้วยกับทั้ง 5 มาตรการนี้หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 51.52% 47.85% 49.69%
เพราะ อย่างน้อยก็เป็นการประหยัดพลังงานได้ส่วนหนึ่ง,เพื่อความอยู่รอดของประเทศชาติ,จะได้ประหยัดและ
เห็นความสำคัญของพลังงานมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 30.30% 24.73% 27.51%
เพราะ การประหยัดจะต้องมาจากการสร้างจิตสำนึกของประชาชนจะดีกว่า,บางข้อเป็นการเอาเปรียบ
ประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 18.18% 27.42% 22.80%
เพราะ บางข้อยังมีจุดด้อย,บางมาตรการก็ดีแต่บางข้ออาจเกิดโทษตามมา,ไม่มั่นใจว่าจะทำได้จริง ฯลฯ
5. สิ่งที่ “ประชาชน” วิตกเกี่ยวกับมาตรการทั้ง 5 มาตรการ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความปลอดภัยของประชาชนเพราะบางมาตรการอาจก่อให้เกิด
ปัญหาอื่นๆตามมาภายหลังเช่น อาชญากรรม อุบัติเหตุ 56.25% 52.38% 54.32%
อันดับที่ 2 คนที่ทำงานกลางคืนอาจไม่ได้รับความสะดวกในการเดินทาง
หรือด้านการบริการอื่นๆ 21.88% 17.86% 19.87%
อันดับที่ 3 เมื่อมีความจำเป็นที่ต้องใช้ไฟหรือน้ำมันยามที่คับขันจะทำอย่างไร 12.50% 17.86% 15.18%
อันดับที่ 4 อาจไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชนมากนัก 9.37% 11.90% 10.63%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-