แท็ก
สวนดุสิตโพล
เนื่องจากราคาก๊าซและน้ำมันในตลาดโลกปรับตัวสูงมาก ทำให้รัฐบาลต้องมีการปรับขึ้นราคาก๊าซหุงต้มและราคาน้ำมัน
เพิ่มขึ้นซึ่งอาจส่งผลให้ต้นทุนของราคาสาธารณูปโภคต่างๆเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง "สวนดุสิตโพล" สถาบัน
ราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,174 คน
(ชาย 567 คน 48.29% หญิง 607 คน 51.71%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 21 - 22 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ประชาชน" คิดอย่างไร? กับ การที่ก๊าซหุงต้มขึ้นราคา
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ผู้ประกอบการประเภทอาหารและผู้บริโภคได้รับความเดือดร้อน
เนื่องจากต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 39.29% 35.29% 37.29%
อันดับที่ 2 อาจทำให้ราคาสินค้าอุปโภค บริโภค อย่างอื่นแพงขึ้นด้วย 25.00% 23.53% 24.27%
อันดับที่ 3 เป็นการเพิ่มภาระให้กับประชาชน 17.86% 16.47% 17.17%
อันดับที่ 4 ไม่เห็นด้วยเพราะก๊าซหุงต้มจำเป็นตอการดำรงชีวิต 7.14% 18.83% 12.98%
อันดับที่ 5 ไม่ควรขึ้นราคาในตอนนี้/รัฐบาลควรพยุงราคาไว้ก่อน 10.71% 5.88% 8.29%
2. ผลกระทบที่ "ประชาชน" ได้รับจากการขึ้นราคาก๊าซหุงต้ม คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สินค้าประเภทอุปโภค บริโภคขึ้นราคาตาม 47.37% 46.43% 46.90%
อันดับที่ 2 รายจ่ายเพิ่มมากขึ้นในขณะที่รายรับยังคงที่ 28.95% 42.14% 35.55%
อันดับที่ 3 ผู้ประกอบการประเภทอาหารได้กำไรน้อยลง 15.79% 6.43% 11.11%
อันดับที่ 4 ต้องเร่งรีบในการประกอบอาหารเพื่อเป็นการประหยัดก๊าซหุงต้ม 7.89% 5.00% 6.44%
3. วิธีแก้ไขการฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้าอุปโภค/บริโภคของ "ประชาชน" คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้รัฐบาลออกมาตรการหรือบทลงโทษขั้นเด็ดขาดกับผู้ที่
ฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้า 29.42% 37.37% 33.40%
อันดับที่ 2 มีการวางแผนในการซื้อสินค้าและซื้อเท่าที่จำเป็นเท่านั้น 23.53% 26.26% 24.89%
อันดับที่ 3 ตรวจสอบราคาสินค้าก่อนตัดสินใจซื้อ 35.29% 7.07% 21.18%
อันดับที่ 4 เมื่อพบเห็นการเอาเปรียบผู้บริโภคให้รีบแจ้งหน่วยงาน
คุ้มครองผู้บริโภค 11.76% 29.30% 20.53%
4. "ประชาชน" เห็นด้วยหรือไม่? ถ้ารถแท็กซี่มิเตอร์จะขึ้นราคามิเตอร์ (จากราคาเริ่มต้นที่ 35 บาท)
เนื่องจากก๊าซและน้ำมันขึ้นราคา
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 84.09% 81.16% 82.63%
เพราะ อาจทำให้ประชาชนใช้บริการรถแท็กซี่น้อยลง,ไม่ควรเอาเปรียบผู้บริโภคเพราะในปัจจุบันก็มีการใช้ก๊าซ NGV
กันมาก ซึ่งราคาถูกและไม่สิ้นเปลืองด้วย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 9.09% 9.42% 9.25%
เพราะ ต้องดูก่อนว่าจะขึ้นไปที่ราคาเท่าไหร่สมเหตุสมผลหรือไม่,ทั้ง 2 ฝ่ายต่างก็เดือดร้อนเช่นเดียวกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วย 6.82% 9.42% 8.12%
เพราะ คนขับแท็กซี่ก็ต้องใช้น้ำมันเช่นกัน,ถ้าไม่ขึ้นราคาก็อาจทำให้ขาดทุนได้,ต้องทำมาหากินเหมือนกัน ฯลฯ
5. "ประชาชน" เห็นด้วยหรือไม่? กับการนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้กับครัวเรือนแทนเพื่อลดภาระความเดือดร้อน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 69.49% 87.05% 78.27%
เพราะ พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานที่หาง่ายและไม่มีวันหมดใช้ได้ตลอด,เป็นการประหยัดพลังงานได้มาก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 18.64% 8.63% 13.64%
เพราะ ไม่ว่าจะเป็นพลังงานชนิดใดก็มีผลดี - ผลเสียเหมือนกันหากผู้ใช้ใช้ในทางที่ผิด,พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงาน
ที่ไม่หมดก็จริงแต่ก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่เห็นด้วย 11.87% 4.32% 8.09%
เพราะ เครื่องที่จะใช้กับพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาสูง,บางทีการรอพลังงานแสงอาทิตย์ก็อาจไม่แน่นอน ฯลฯ
6. วิธีในการประหยัดพลังงานก๊าซหุงต้มของ "ประชาชน" คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มให้น้อยลง/ใช้เท่าที่จำเป็น 52.17% 52.27% 52.22%
อันดับที่ 2 ใช้พลังงานในรูปแบบอื่นแทนเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ใช้ถ่าน 32.61% 27.27% 29.94%
อันดับที่ 3 ปิดอุปกรณ์หุงต้มทุกครั้งหลังจากใช้เสร็จ 15.22% 20.46% 17.84%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
เพิ่มขึ้นซึ่งอาจส่งผลให้ต้นทุนของราคาสาธารณูปโภคต่างๆเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง "สวนดุสิตโพล" สถาบัน
ราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,174 คน
(ชาย 567 คน 48.29% หญิง 607 คน 51.71%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 21 - 22 มิถุนายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ประชาชน" คิดอย่างไร? กับ การที่ก๊าซหุงต้มขึ้นราคา
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ผู้ประกอบการประเภทอาหารและผู้บริโภคได้รับความเดือดร้อน
เนื่องจากต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 39.29% 35.29% 37.29%
อันดับที่ 2 อาจทำให้ราคาสินค้าอุปโภค บริโภค อย่างอื่นแพงขึ้นด้วย 25.00% 23.53% 24.27%
อันดับที่ 3 เป็นการเพิ่มภาระให้กับประชาชน 17.86% 16.47% 17.17%
อันดับที่ 4 ไม่เห็นด้วยเพราะก๊าซหุงต้มจำเป็นตอการดำรงชีวิต 7.14% 18.83% 12.98%
อันดับที่ 5 ไม่ควรขึ้นราคาในตอนนี้/รัฐบาลควรพยุงราคาไว้ก่อน 10.71% 5.88% 8.29%
2. ผลกระทบที่ "ประชาชน" ได้รับจากการขึ้นราคาก๊าซหุงต้ม คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สินค้าประเภทอุปโภค บริโภคขึ้นราคาตาม 47.37% 46.43% 46.90%
อันดับที่ 2 รายจ่ายเพิ่มมากขึ้นในขณะที่รายรับยังคงที่ 28.95% 42.14% 35.55%
อันดับที่ 3 ผู้ประกอบการประเภทอาหารได้กำไรน้อยลง 15.79% 6.43% 11.11%
อันดับที่ 4 ต้องเร่งรีบในการประกอบอาหารเพื่อเป็นการประหยัดก๊าซหุงต้ม 7.89% 5.00% 6.44%
3. วิธีแก้ไขการฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้าอุปโภค/บริโภคของ "ประชาชน" คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้รัฐบาลออกมาตรการหรือบทลงโทษขั้นเด็ดขาดกับผู้ที่
ฉวยโอกาสขึ้นราคาสินค้า 29.42% 37.37% 33.40%
อันดับที่ 2 มีการวางแผนในการซื้อสินค้าและซื้อเท่าที่จำเป็นเท่านั้น 23.53% 26.26% 24.89%
อันดับที่ 3 ตรวจสอบราคาสินค้าก่อนตัดสินใจซื้อ 35.29% 7.07% 21.18%
อันดับที่ 4 เมื่อพบเห็นการเอาเปรียบผู้บริโภคให้รีบแจ้งหน่วยงาน
คุ้มครองผู้บริโภค 11.76% 29.30% 20.53%
4. "ประชาชน" เห็นด้วยหรือไม่? ถ้ารถแท็กซี่มิเตอร์จะขึ้นราคามิเตอร์ (จากราคาเริ่มต้นที่ 35 บาท)
เนื่องจากก๊าซและน้ำมันขึ้นราคา
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 84.09% 81.16% 82.63%
เพราะ อาจทำให้ประชาชนใช้บริการรถแท็กซี่น้อยลง,ไม่ควรเอาเปรียบผู้บริโภคเพราะในปัจจุบันก็มีการใช้ก๊าซ NGV
กันมาก ซึ่งราคาถูกและไม่สิ้นเปลืองด้วย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 9.09% 9.42% 9.25%
เพราะ ต้องดูก่อนว่าจะขึ้นไปที่ราคาเท่าไหร่สมเหตุสมผลหรือไม่,ทั้ง 2 ฝ่ายต่างก็เดือดร้อนเช่นเดียวกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วย 6.82% 9.42% 8.12%
เพราะ คนขับแท็กซี่ก็ต้องใช้น้ำมันเช่นกัน,ถ้าไม่ขึ้นราคาก็อาจทำให้ขาดทุนได้,ต้องทำมาหากินเหมือนกัน ฯลฯ
5. "ประชาชน" เห็นด้วยหรือไม่? กับการนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้กับครัวเรือนแทนเพื่อลดภาระความเดือดร้อน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 69.49% 87.05% 78.27%
เพราะ พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานที่หาง่ายและไม่มีวันหมดใช้ได้ตลอด,เป็นการประหยัดพลังงานได้มาก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 18.64% 8.63% 13.64%
เพราะ ไม่ว่าจะเป็นพลังงานชนิดใดก็มีผลดี - ผลเสียเหมือนกันหากผู้ใช้ใช้ในทางที่ผิด,พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงาน
ที่ไม่หมดก็จริงแต่ก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่เห็นด้วย 11.87% 4.32% 8.09%
เพราะ เครื่องที่จะใช้กับพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาสูง,บางทีการรอพลังงานแสงอาทิตย์ก็อาจไม่แน่นอน ฯลฯ
6. วิธีในการประหยัดพลังงานก๊าซหุงต้มของ "ประชาชน" คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มให้น้อยลง/ใช้เท่าที่จำเป็น 52.17% 52.27% 52.22%
อันดับที่ 2 ใช้พลังงานในรูปแบบอื่นแทนเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ใช้ถ่าน 32.61% 27.27% 29.94%
อันดับที่ 3 ปิดอุปกรณ์หุงต้มทุกครั้งหลังจากใช้เสร็จ 15.22% 20.46% 17.84%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-