จากภาวะของราคาน้ำมันที่พุ่งสูงขึ้นและมีทีท่าว่าจะไม่ลดลง ทำให้ภาครัฐออกมารณรงค์ในเรื่องการขอความร่วมมือให้มีการประหยัดพลังงานด้วย
วิธีการต่างๆ เช่น การส่งเสริมให้ใช้ก๊าซ NGV ในรถแท็กซี่และรถประจำทาง โดยล่าสุดคือ การจำกัดความเร็วของรถยนต์ไม่เกิน 90 กม./ชม.
และอาจจะมีแนวทางการประหยัดในมาตรการอื่นๆตามมาอีก "สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พัก
อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,071 คน (ชาย 491 คน 45.84% หญิง 580 คน 54.16 %)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 - 3 กรกฎาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ประชาชน" คิดว่าการจำกัดความเร็วของรถยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. เหมาะสมหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมาะสม 55.88% 66.07% 61.28%
เพราะ ช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้,ช่วยประหยัดพลังงานและประหยัดน้ำมันได้ส่วนหนึ่ง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เหมาะสม 38.24% 26.67% 32.45%
เพราะ ในชั่วโมงเร่งด่วนที่มีธุระอาจไปไม่ทัน,ในความเป็นจริงปฏิบัติได้ยาก,ทำให้รถติดเพิ่มขึ้นอีก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 5.88% 6.66% 6.27%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์มากกว่าเพราะบางทีต้องใช้ความเร็วในการทำงาน,ต้องรอดูไปก่อนว่าได้ผลมากน้อยแค่ไหน ฯลฯ
2. "ประชาชน" คิดว่าควรมีบทลงโทษวิธีอื่นอีกหรือไม่? นอกจากการตัดคะแนน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 73.53% 53.33% 63.43%
คือ ถ้ามีการฝ่าฝืนควรยึดใบขับขี่,ทำทัณฑ์บนเอาไว้ถ้าทำผิดอีกก็ควรทั้งจำทั้งปรับเพื่อให้เกรงกลัว ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 26.47% 46.67% 36.57%
3. "ประชาชน" มีความเชื่อถือต่อผลในการตรวจของเครื่องตรวจวัดความเร็วในการตรวจจับรถยนต์ที่วิ่งบนถนนสายหลักหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 50.00% 46.66% 48.33%
เพราะ ต้องอยู่ที่ผู้บังคับใช้กฎหมายว่าปฏิบัติงานอย่างจริงหรือไม่,ขึ้นอยู่กับมาตรฐานของเครื่องมือและผู้ปฏิบัติ ฯลฯ
อันดับที่ 2 มี 26.47% 26.67% 26.57%
เพราะ เครื่องตรวจวัดเป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ย่อมเชื่อถือได้,เป็นเครื่องมือที่มีมาตรฐาน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มี 23.53% 26.67% 25.10%
เพราะ รถบนถนนมีมากอาจได้ผลที่ไม่แน่นอน,ถ้ามีการใช้เครื่องไปนานๆเครื่องอาจชำรุดได้ ฯลฯ
4. ประโยชน์ของการจำกัดความเร็วของรถยนต์ที่มีการบังคับใช้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน 30.13% 27.17% 28.65%
อันดับที่ 2 ประหยัดพลังงาน 26.42% 25.53% 25.98%
อันดับที่ 3 สร้างวินัยในการขับขี่ 15.94% 18.96% 17.45%
อันดับที่ 4 ลดปัญหาด้านการจราจรบนท้องถนน 15.50% 17.33% 16.41%
อันดับที่ 5 ช่วยรักษาสภาพเครื่องยนต์ให้ใช้ได้นาน 12.01% 11.01% 11.51%
5. "ผลเสีย" ของการบังคับใช้มาตรการจำกัดความเร็วรถยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. ในทัศนะของ "ประชาชน"
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดมากขึ้น 47.83% 28.57% 38.20%
อันดับที่ 2 การเดินทางช้าลงทำให้ต้องเผื่อเวลาในการเดินทาง/
เสียเวลาในการเดินทาง 34.78% 33.33% 34.06%
อันดับที่ 3 อาจมีคนไม่ปฏิบัติตามคำสั่งหรือกฏที่ห้าม 17.39% 38.10% 27.74%
6. โดยสรุปแล้ว "ประชาชน" เห็นด้วยกับมาตรการจำกัดความเร็วของรถยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม.
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 54.55% 76.67% 65.61%
เพราะ ช่วยสร้างวินัยให้กับผู้ขับขี่รถยนต์ได้,ช่วยลดปัญหาอุบัติเหตุได้ในระดับหนึ่งและยังช่วยประหยัดพลังงานได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 45.45% 23.33% 34.39%
เพราะ เวลาเร่งรีบหรือเดินทางไกลอาจต้องใช้ความเร็วกว่านั้น,ไม่ได้ช่วยประหยัดพลังงานได้
จริงเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุมากกว่า ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
วิธีการต่างๆ เช่น การส่งเสริมให้ใช้ก๊าซ NGV ในรถแท็กซี่และรถประจำทาง โดยล่าสุดคือ การจำกัดความเร็วของรถยนต์ไม่เกิน 90 กม./ชม.
และอาจจะมีแนวทางการประหยัดในมาตรการอื่นๆตามมาอีก "สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พัก
อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,071 คน (ชาย 491 คน 45.84% หญิง 580 คน 54.16 %)
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 - 3 กรกฎาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ประชาชน" คิดว่าการจำกัดความเร็วของรถยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. เหมาะสมหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมาะสม 55.88% 66.07% 61.28%
เพราะ ช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้,ช่วยประหยัดพลังงานและประหยัดน้ำมันได้ส่วนหนึ่ง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เหมาะสม 38.24% 26.67% 32.45%
เพราะ ในชั่วโมงเร่งด่วนที่มีธุระอาจไปไม่ทัน,ในความเป็นจริงปฏิบัติได้ยาก,ทำให้รถติดเพิ่มขึ้นอีก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 5.88% 6.66% 6.27%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์มากกว่าเพราะบางทีต้องใช้ความเร็วในการทำงาน,ต้องรอดูไปก่อนว่าได้ผลมากน้อยแค่ไหน ฯลฯ
2. "ประชาชน" คิดว่าควรมีบทลงโทษวิธีอื่นอีกหรือไม่? นอกจากการตัดคะแนน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 73.53% 53.33% 63.43%
คือ ถ้ามีการฝ่าฝืนควรยึดใบขับขี่,ทำทัณฑ์บนเอาไว้ถ้าทำผิดอีกก็ควรทั้งจำทั้งปรับเพื่อให้เกรงกลัว ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 26.47% 46.67% 36.57%
3. "ประชาชน" มีความเชื่อถือต่อผลในการตรวจของเครื่องตรวจวัดความเร็วในการตรวจจับรถยนต์ที่วิ่งบนถนนสายหลักหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 50.00% 46.66% 48.33%
เพราะ ต้องอยู่ที่ผู้บังคับใช้กฎหมายว่าปฏิบัติงานอย่างจริงหรือไม่,ขึ้นอยู่กับมาตรฐานของเครื่องมือและผู้ปฏิบัติ ฯลฯ
อันดับที่ 2 มี 26.47% 26.67% 26.57%
เพราะ เครื่องตรวจวัดเป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ย่อมเชื่อถือได้,เป็นเครื่องมือที่มีมาตรฐาน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มี 23.53% 26.67% 25.10%
เพราะ รถบนถนนมีมากอาจได้ผลที่ไม่แน่นอน,ถ้ามีการใช้เครื่องไปนานๆเครื่องอาจชำรุดได้ ฯลฯ
4. ประโยชน์ของการจำกัดความเร็วของรถยนต์ที่มีการบังคับใช้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน 30.13% 27.17% 28.65%
อันดับที่ 2 ประหยัดพลังงาน 26.42% 25.53% 25.98%
อันดับที่ 3 สร้างวินัยในการขับขี่ 15.94% 18.96% 17.45%
อันดับที่ 4 ลดปัญหาด้านการจราจรบนท้องถนน 15.50% 17.33% 16.41%
อันดับที่ 5 ช่วยรักษาสภาพเครื่องยนต์ให้ใช้ได้นาน 12.01% 11.01% 11.51%
5. "ผลเสีย" ของการบังคับใช้มาตรการจำกัดความเร็วรถยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. ในทัศนะของ "ประชาชน"
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดมากขึ้น 47.83% 28.57% 38.20%
อันดับที่ 2 การเดินทางช้าลงทำให้ต้องเผื่อเวลาในการเดินทาง/
เสียเวลาในการเดินทาง 34.78% 33.33% 34.06%
อันดับที่ 3 อาจมีคนไม่ปฏิบัติตามคำสั่งหรือกฏที่ห้าม 17.39% 38.10% 27.74%
6. โดยสรุปแล้ว "ประชาชน" เห็นด้วยกับมาตรการจำกัดความเร็วของรถยนต์ที่วิ่งด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม.
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 54.55% 76.67% 65.61%
เพราะ ช่วยสร้างวินัยให้กับผู้ขับขี่รถยนต์ได้,ช่วยลดปัญหาอุบัติเหตุได้ในระดับหนึ่งและยังช่วยประหยัดพลังงานได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 45.45% 23.33% 34.39%
เพราะ เวลาเร่งรีบหรือเดินทางไกลอาจต้องใช้ความเร็วกว่านั้น,ไม่ได้ช่วยประหยัดพลังงานได้
จริงเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุมากกว่า ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-