ประเทศไทยได้รับเกียรติในการเป็นเจ้าภาพจัดประชุมเอดส์โลก ครั้งที่15 ในช่วงระหว่างวันที่ 11-16 ก.ค.นี้
โดยจะมีผู้นำระดับโลกอาทิเลขาธิการสหประชาชาติ ผู้นำประเทศ รัฐมนตรีสาธารณสุขประเทศต่างๆ แพทย์ นักวิทยาศาสตร์
นักวิชาการ เอ็นจีโอ ดารานักแสดงฮอลลีวูดที่ทำงานด้านโรคเอดส์และผู้ติดเชื้อจากทั่วโลก "สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,062 คน
(ชาย 315 คน 29.66% หญิง 747 คน 70.34%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 11 - 12 กรกฎาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ประชาชน" คิดอย่างไร? กับการประชุมเอดส์โลกที่จัดขึ้นในประเทศไทย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จัก/มีชื่อเสียงในทั่วโลก 45.45% 43.86% 44.66%
อันดับที่ 2 เพื่อเป็นแนวทางในการร่วมมือกันป้องกันและรักษา 27.27% 14.03% 20.65%
อันดับที่ 3 ประเทศไทยมีศักยภาพในการจัดการประชุมระดับโลก 4.55% 28.07% 16.31.%
อันดับที่ 4 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากโรคเอดส์ 13.64% 10.53% 12.08%
อันดับที่ 5 ทำให้ทราบว่าประเทศไทยประสบความสำเร็จในการรักษาโรคเอดส์ 9.09% 3.51% 6.30%
2. "ประชาชน" คิดว่าการประชุมในครั้งนี้จะสามารถทำให้ประเทศไทยได้รับประโยชน์หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ได้รับประโยชน์ 85.71% 91.57% 88.64%
คือ ปลุกกระแสของคนไทยให้ต่อต้านกับโรคเอดส์มากขึ้น,เป็นการประชาสัมพันธ์ประเทศให้เป็นที่รู้จัก,คน
ไทยได้รับรู้ถึงสถานการณ์เอดส์ในปัจจุบันมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 11.43% 7.23% 9.33%
เพราะ ต้องรอดูผลสรุปของการประชุมที่จะเกิดขึ้นก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ได้รับประโยชน์ 2.86% 1.20% 2.03%
เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว,ไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการประชุมครั้งนี้มากนัก ฯลฯ
3. "ประชาชน" คิดว่าการประชุมในครั้งนี้จะสามารถทำให้ปัญหาเอดส์ในประเทศไทยลดลงจากที่เป็นอยู่หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดลง 48.57% 61.45% 55.01%
เพราะ ทำให้ทราบถึงโทษและอาการของผู้ป่วย,จะได้มีแนวทางการแก้ไขจากหลายๆประเทศมาแก้ไข,ทำให้มี
การสร้างความเข้าใจที่ดีกับโรคเอดส์และผู้ติดเชื้อ HIV ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 37.14% 33.73% 35.44%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความร่วมมือในการลดปัญหาโรคเอดส์ของประชาชน,อยู่ที่การปฏิบัติตนของประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ลดลง 14.29% 4.82% 9.55%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสามัญสำนึกของแต่ละบุคคลมากกว่า ฯลฯ
4. จากที่มีกลุ่มผู้ติดยาเสพติดและกลุ่มที่ทำงานเพื่อผู้ติดยาเสพติดชูป้ายประท้วงระหว่างที่นายกฯทักษิณ กล่าวสุนทรพจน์ด้วย
ข้อความว่า "ทักษิณโกหก" ทำให้ส่งผลกระทบต่อภาพพจน์ของประเทศไทยหรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ส่งผลกระทบ 62.86% 78.31% 70.59%
คือ เป็นการทำลายชื่อเสียงของประเทศ,ทำให้เสียภาพลักษณ์ที่ดีไป,นายกฯขาดความน่าเชื่อถือ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ส่งผลกระทบ 20.00% 9.64% 14.82%
เพราะ นายกฯสามารถชี้แจงข้อเท็จจริงในที่ประชุมได้,ต่างประเทศก็มีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง
จึงไม่เห็นว่าจะเป็นผลเสียตรงไหน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 17.14% 12.05% 14.59%
เพราะ อาจทำให้ประชาชนเข้าใจผิดในตัวผู้นำประเทศได้ ฯลฯ
5. "ประชาชน" คิดอย่างไร ? กรณี 30 บาทรักษาทุกโรคที่จะรวมโรคเอดส์เข้าไปด้วย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ผู้ป่วยโรคเอดส์ต้องใช้ค่ารักษาพยาบาลสูง 53.84% 49.12% 51.48%
อันดับที่ 2 อาจจะเป็นการใช้งบประมาณที่ค่อนข้างสูง 15.39% 33.34% 24.37%
อันดับที่ 3 เป็นการสร้างกำลังใจให้กับผู้ป่วยว่าทางภาครัฐยังสนใจดูแล 15.39% 5.26% 10.32%
อันดับที่ 4 ต้องจัดการกับระบบของโครงการ 30 บาทให้ลงตัวก่อน/
ตั้งโครงการโดยตรงสำหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ 7.69% 8.77% 8.23%
อันดับที่ 5 ขึ้นอยู่ที่การรักษาของแพทย์มากกว่า/รักษาตามอาการ 7.69% 3.51% 5.60%
6. โดยภาพรวมแล้ว "ประชาชน" คิดว่าประเทศไทยควรให้การสนับสนุนในการแก้ปัญหาโรคเอดส์มากน้อยเพียงใด
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สนับสนุนพอสมควร 63.16% 49.40% 56.28%
เพราะ มีการทำป้ายรณรงค์เกี่ยวกับโรคเอดส์อย่างต่อเนื่อง,มีการรณรงค์และให้ความรู้เรื่องเอดส์,เห็นได้จาก
สื่อที่แพร่หลายในปัจจุบัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 สนับสนุนมาก 28.94% 38.55% 33.75%
เพราะ มีการประชาสัมพันธ์ รณรงค์กันเป็นประจำ,เป็นปัญหาที่โลกให้ความสนใจและไทยก็พยายามที่จะ
พัฒนาศักยภาพของตนด้วย,เป็นปัญหาที่ต้องคอยควบคุมดูแลอย่างสม่ำเสมอ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยสนับสนุน 7.90% 12.05% 9.97%
เพราะ ยังคงพบเห็นผู้ป่วยโรคเอดส์อย่างเป็นจำนวนมาก,มีการรณรงค์กันเป็นบางโอกาสเท่านั้นไมได้รณรงค์
กันอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
โดยจะมีผู้นำระดับโลกอาทิเลขาธิการสหประชาชาติ ผู้นำประเทศ รัฐมนตรีสาธารณสุขประเทศต่างๆ แพทย์ นักวิทยาศาสตร์
นักวิชาการ เอ็นจีโอ ดารานักแสดงฮอลลีวูดที่ทำงานด้านโรคเอดส์และผู้ติดเชื้อจากทั่วโลก "สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,062 คน
(ชาย 315 คน 29.66% หญิง 747 คน 70.34%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 11 - 12 กรกฎาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ประชาชน" คิดอย่างไร? กับการประชุมเอดส์โลกที่จัดขึ้นในประเทศไทย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จัก/มีชื่อเสียงในทั่วโลก 45.45% 43.86% 44.66%
อันดับที่ 2 เพื่อเป็นแนวทางในการร่วมมือกันป้องกันและรักษา 27.27% 14.03% 20.65%
อันดับที่ 3 ประเทศไทยมีศักยภาพในการจัดการประชุมระดับโลก 4.55% 28.07% 16.31.%
อันดับที่ 4 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากโรคเอดส์ 13.64% 10.53% 12.08%
อันดับที่ 5 ทำให้ทราบว่าประเทศไทยประสบความสำเร็จในการรักษาโรคเอดส์ 9.09% 3.51% 6.30%
2. "ประชาชน" คิดว่าการประชุมในครั้งนี้จะสามารถทำให้ประเทศไทยได้รับประโยชน์หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ได้รับประโยชน์ 85.71% 91.57% 88.64%
คือ ปลุกกระแสของคนไทยให้ต่อต้านกับโรคเอดส์มากขึ้น,เป็นการประชาสัมพันธ์ประเทศให้เป็นที่รู้จัก,คน
ไทยได้รับรู้ถึงสถานการณ์เอดส์ในปัจจุบันมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 11.43% 7.23% 9.33%
เพราะ ต้องรอดูผลสรุปของการประชุมที่จะเกิดขึ้นก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ได้รับประโยชน์ 2.86% 1.20% 2.03%
เพราะ เป็นเรื่องไกลตัว,ไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการประชุมครั้งนี้มากนัก ฯลฯ
3. "ประชาชน" คิดว่าการประชุมในครั้งนี้จะสามารถทำให้ปัญหาเอดส์ในประเทศไทยลดลงจากที่เป็นอยู่หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ลดลง 48.57% 61.45% 55.01%
เพราะ ทำให้ทราบถึงโทษและอาการของผู้ป่วย,จะได้มีแนวทางการแก้ไขจากหลายๆประเทศมาแก้ไข,ทำให้มี
การสร้างความเข้าใจที่ดีกับโรคเอดส์และผู้ติดเชื้อ HIV ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 37.14% 33.73% 35.44%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความร่วมมือในการลดปัญหาโรคเอดส์ของประชาชน,อยู่ที่การปฏิบัติตนของประชาชน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ลดลง 14.29% 4.82% 9.55%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสามัญสำนึกของแต่ละบุคคลมากกว่า ฯลฯ
4. จากที่มีกลุ่มผู้ติดยาเสพติดและกลุ่มที่ทำงานเพื่อผู้ติดยาเสพติดชูป้ายประท้วงระหว่างที่นายกฯทักษิณ กล่าวสุนทรพจน์ด้วย
ข้อความว่า "ทักษิณโกหก" ทำให้ส่งผลกระทบต่อภาพพจน์ของประเทศไทยหรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ส่งผลกระทบ 62.86% 78.31% 70.59%
คือ เป็นการทำลายชื่อเสียงของประเทศ,ทำให้เสียภาพลักษณ์ที่ดีไป,นายกฯขาดความน่าเชื่อถือ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ส่งผลกระทบ 20.00% 9.64% 14.82%
เพราะ นายกฯสามารถชี้แจงข้อเท็จจริงในที่ประชุมได้,ต่างประเทศก็มีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง
จึงไม่เห็นว่าจะเป็นผลเสียตรงไหน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 17.14% 12.05% 14.59%
เพราะ อาจทำให้ประชาชนเข้าใจผิดในตัวผู้นำประเทศได้ ฯลฯ
5. "ประชาชน" คิดอย่างไร ? กรณี 30 บาทรักษาทุกโรคที่จะรวมโรคเอดส์เข้าไปด้วย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ผู้ป่วยโรคเอดส์ต้องใช้ค่ารักษาพยาบาลสูง 53.84% 49.12% 51.48%
อันดับที่ 2 อาจจะเป็นการใช้งบประมาณที่ค่อนข้างสูง 15.39% 33.34% 24.37%
อันดับที่ 3 เป็นการสร้างกำลังใจให้กับผู้ป่วยว่าทางภาครัฐยังสนใจดูแล 15.39% 5.26% 10.32%
อันดับที่ 4 ต้องจัดการกับระบบของโครงการ 30 บาทให้ลงตัวก่อน/
ตั้งโครงการโดยตรงสำหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ 7.69% 8.77% 8.23%
อันดับที่ 5 ขึ้นอยู่ที่การรักษาของแพทย์มากกว่า/รักษาตามอาการ 7.69% 3.51% 5.60%
6. โดยภาพรวมแล้ว "ประชาชน" คิดว่าประเทศไทยควรให้การสนับสนุนในการแก้ปัญหาโรคเอดส์มากน้อยเพียงใด
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สนับสนุนพอสมควร 63.16% 49.40% 56.28%
เพราะ มีการทำป้ายรณรงค์เกี่ยวกับโรคเอดส์อย่างต่อเนื่อง,มีการรณรงค์และให้ความรู้เรื่องเอดส์,เห็นได้จาก
สื่อที่แพร่หลายในปัจจุบัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 สนับสนุนมาก 28.94% 38.55% 33.75%
เพราะ มีการประชาสัมพันธ์ รณรงค์กันเป็นประจำ,เป็นปัญหาที่โลกให้ความสนใจและไทยก็พยายามที่จะ
พัฒนาศักยภาพของตนด้วย,เป็นปัญหาที่ต้องคอยควบคุมดูแลอย่างสม่ำเสมอ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยสนับสนุน 7.90% 12.05% 9.97%
เพราะ ยังคงพบเห็นผู้ป่วยโรคเอดส์อย่างเป็นจำนวนมาก,มีการรณรงค์กันเป็นบางโอกาสเท่านั้นไมได้รณรงค์
กันอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-