นับตั้งแต่ที่มีการประกาศรายชื่อผู้สมัครครบทั้ง 22 คนเป็นต้นมา ได้มีการแข่งขันทางด้านแถลงนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพฯไปในด้านต่างๆผ่านทางหลายๆสื่อ เพื่อที่จะให้ชาว กทม. ได้รับทราบแนวทางในการปฏิบัติงานของผู้สมัครมากขึ้น " สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าฯกทม. ในเขตกรุงเทพ ฯ จำนวนทั้งสิ้น 1,062 คน (ชาย 496 คน 46.70% หญิง 566 คน 53.30%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 8 - 10 สิงหาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. สื่อที่ทำให้ "ประชาชน" รับรู้ข่าวสารของตัวผู้สมัครมากที่สุดคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 โทรทัศน์ 40.62% 38.78% 39.70%
อันดับที่ 2 ป้ายหาเสียง 34.37% 33.98% 34.18%
อันดับที่ 3 หนังสือพิมพ์ 6.25% 12.62% 9.43%
อันดับที่ 4 การลงพื้นที่ 12.52% 4.85% 8.69%
อันดับที่ 5 วิทยุ 3.12% 6.80% 4.96%
อันดับที่ 6 อินเตอร์เน็ต 3.12% 2.97% 3.04%
2. "ประชาชน" ตื่นตัวในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆของตัวผู้สมัครมากขึ้นกว่าเดิมหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มากขึ้น 69.23% 67.16% 68.20%
เพราะ มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งจากสื่อต่างๆมากขึ้นกว่าตอนที่เปิด
รับสมัคร,มีการนำเสนอข่าวอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
อันดับที่ 2 เท่าเดิม 26.92% 31.34% 29.13%
เพราะ พอจะทราบถึงประวัติหรือผลการทำงานของแต่ละคนมาบ้างแล้ว,ส่วนใหญ่เป็นวิธีการหาเสียง
ของแต่ละคนที่ต้องการสร้างความสนใจมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 3 น้อยลง 3.85% 1.50% 2.67%
เพราะ ไม่อยากรับรู้,เบื่อการโฆษณาหาเสียง,ไม่อยากคาดหวังอะไรมาก,ผลงานของผู้ว่าฯที่ผ่านมายังมี
ข้อบกพร่องอีกมาก ฯลฯ
3. หลังจากที่มีการประกาศรายชื่อผู้สมัครทั้ง 22 คนแล้ว ทำให้ "ประชาชน" เปลี่ยนแปลงความคิดในการ
ตัดสินใจเลือกผู้สมัครจากเดิมหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เปลี่ยนแปลง 49.06% 49.37% 49.22%
เพราะ มีผู้สมัครที่คิดไว้ในใจอยู่แล้ว,เชื่อมั่นในความสามารถผล/การทำงานของผู้สมัคร ฯลฯ
อันดับที่ 2 เปลี่ยนแปลง 37.50% 27.85% 32.67%
เพราะ มีผู้สมัครให้เลือกหลากหลายมากขึ้น,นโยบายของแต่ละคนแตกต่างกัน,ตัดสินใจลำบาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 13.44% 22.78% 18.11%
เพราะ ยังเกิดความลังเลในการตัดสินใจอยู่,นโยบายของแต่ละคนล้วนน่าสนใจ ฯลฯ
4. "ประชาชน" คิดว่าในช่วงที่มีการหาเสียงก่อนการเลือกตั้ง เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านใดต่อสังคมคนกทม. บ้าง
- ด้านสังคม
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีการพูดคุยเกี่ยวกับนโยบายมากขึ้น 52.17% 53.85% 52.51%
อันดับที่ 2 ได้เห็นการแข่งขันของผู้สมัครในการหาเสียงที่หลากหลาย 30.43% 30.77% 30.60%
อันดับที่ 3 คนกรุงเทพฯมีทางเลือกมากขึ้นจากจากผู้สมัครหลายๆคน 17.40% 15.38% 16.89%
- ด้านเศรษฐกิจ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เกิดการหมุนเวียนด้านการเงินในช่วงการหาเสียงมากขึ้น 54.16% 42.31% 48.24%
อันดับที่ 2 สร้างรายได้ให้กับชุมชนเนื่องจากมีผู้สมัครหาเสียงลงพื้นที่มากขึ้น 25.00% 34.61% 29.80%
อันดับที่ 3 ธุรกิจทำป้ายโฆษณาต่างๆมีงานเข้ามามากขึ้น 20.84% 23.08% 21.96%
- ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อที่หลากหลาย 44.82% 48.27% 46.55%
อันดับที่ 2 สื่อในปัจจุบันมีบทบาทต่อการตัดสินใจเลือกของคน กทม.มากขึ้น 34.48% 27.58% 31.03%
อันดับที่ 3 มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการเลือกตั้ง
อย่างต่อเนื่องและมากขึ้น 20.70% 24.15% 22.42%
- ด้านชีวิตความเป็นอยู่
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเดิมไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง 46.15% 52.38% 49.27%
อันดับที่ 2 มีทีมของผู้สมัครมาหาเสียงในชุมชนมากขึ้น 30.77% 33.33% 32.05%
อันดับที่ 3 ป้ายหาเสียงมีมากเกินไปบางครั้งทำให้บดบังทัศนียภาพ 23.08% 14.29% 18.68%
5. "ประชาชน" คาดหวังต่อผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พัฒนา กทม. ให้มีสภาพที่ดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อม
หรือเศรษฐกิจ 29.16% 21.78% 25.47%
อันดับที่ 2 พูดจริงทำจริง/มีความตั้งใจในการทำงาน 25.00% 24.75% 24.88%
อันดับที่ 3 เข้าใจปัญหาของ กทม.อย่างแท้จริง/แก้ปัญหาได้ถูกจุด 18.75% 29.70% 24.23%
อันดับที่ 4 แก้ปัญหาจราจรใน กทม.ได้สำเร็จ 20.83% 17.82% 19.32%
อันดับที่ 5 เป็นคนดี ซื่อสัตย์/มีความสามารถ 6.26% 5.95% 6.10%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
1. สื่อที่ทำให้ "ประชาชน" รับรู้ข่าวสารของตัวผู้สมัครมากที่สุดคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 โทรทัศน์ 40.62% 38.78% 39.70%
อันดับที่ 2 ป้ายหาเสียง 34.37% 33.98% 34.18%
อันดับที่ 3 หนังสือพิมพ์ 6.25% 12.62% 9.43%
อันดับที่ 4 การลงพื้นที่ 12.52% 4.85% 8.69%
อันดับที่ 5 วิทยุ 3.12% 6.80% 4.96%
อันดับที่ 6 อินเตอร์เน็ต 3.12% 2.97% 3.04%
2. "ประชาชน" ตื่นตัวในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆของตัวผู้สมัครมากขึ้นกว่าเดิมหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มากขึ้น 69.23% 67.16% 68.20%
เพราะ มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งจากสื่อต่างๆมากขึ้นกว่าตอนที่เปิด
รับสมัคร,มีการนำเสนอข่าวอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
อันดับที่ 2 เท่าเดิม 26.92% 31.34% 29.13%
เพราะ พอจะทราบถึงประวัติหรือผลการทำงานของแต่ละคนมาบ้างแล้ว,ส่วนใหญ่เป็นวิธีการหาเสียง
ของแต่ละคนที่ต้องการสร้างความสนใจมากกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 3 น้อยลง 3.85% 1.50% 2.67%
เพราะ ไม่อยากรับรู้,เบื่อการโฆษณาหาเสียง,ไม่อยากคาดหวังอะไรมาก,ผลงานของผู้ว่าฯที่ผ่านมายังมี
ข้อบกพร่องอีกมาก ฯลฯ
3. หลังจากที่มีการประกาศรายชื่อผู้สมัครทั้ง 22 คนแล้ว ทำให้ "ประชาชน" เปลี่ยนแปลงความคิดในการ
ตัดสินใจเลือกผู้สมัครจากเดิมหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เปลี่ยนแปลง 49.06% 49.37% 49.22%
เพราะ มีผู้สมัครที่คิดไว้ในใจอยู่แล้ว,เชื่อมั่นในความสามารถผล/การทำงานของผู้สมัคร ฯลฯ
อันดับที่ 2 เปลี่ยนแปลง 37.50% 27.85% 32.67%
เพราะ มีผู้สมัครให้เลือกหลากหลายมากขึ้น,นโยบายของแต่ละคนแตกต่างกัน,ตัดสินใจลำบาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 13.44% 22.78% 18.11%
เพราะ ยังเกิดความลังเลในการตัดสินใจอยู่,นโยบายของแต่ละคนล้วนน่าสนใจ ฯลฯ
4. "ประชาชน" คิดว่าในช่วงที่มีการหาเสียงก่อนการเลือกตั้ง เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านใดต่อสังคมคนกทม. บ้าง
- ด้านสังคม
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีการพูดคุยเกี่ยวกับนโยบายมากขึ้น 52.17% 53.85% 52.51%
อันดับที่ 2 ได้เห็นการแข่งขันของผู้สมัครในการหาเสียงที่หลากหลาย 30.43% 30.77% 30.60%
อันดับที่ 3 คนกรุงเทพฯมีทางเลือกมากขึ้นจากจากผู้สมัครหลายๆคน 17.40% 15.38% 16.89%
- ด้านเศรษฐกิจ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เกิดการหมุนเวียนด้านการเงินในช่วงการหาเสียงมากขึ้น 54.16% 42.31% 48.24%
อันดับที่ 2 สร้างรายได้ให้กับชุมชนเนื่องจากมีผู้สมัครหาเสียงลงพื้นที่มากขึ้น 25.00% 34.61% 29.80%
อันดับที่ 3 ธุรกิจทำป้ายโฆษณาต่างๆมีงานเข้ามามากขึ้น 20.84% 23.08% 21.96%
- ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อที่หลากหลาย 44.82% 48.27% 46.55%
อันดับที่ 2 สื่อในปัจจุบันมีบทบาทต่อการตัดสินใจเลือกของคน กทม.มากขึ้น 34.48% 27.58% 31.03%
อันดับที่ 3 มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการเลือกตั้ง
อย่างต่อเนื่องและมากขึ้น 20.70% 24.15% 22.42%
- ด้านชีวิตความเป็นอยู่
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เหมือนเดิมไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง 46.15% 52.38% 49.27%
อันดับที่ 2 มีทีมของผู้สมัครมาหาเสียงในชุมชนมากขึ้น 30.77% 33.33% 32.05%
อันดับที่ 3 ป้ายหาเสียงมีมากเกินไปบางครั้งทำให้บดบังทัศนียภาพ 23.08% 14.29% 18.68%
5. "ประชาชน" คาดหวังต่อผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พัฒนา กทม. ให้มีสภาพที่ดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อม
หรือเศรษฐกิจ 29.16% 21.78% 25.47%
อันดับที่ 2 พูดจริงทำจริง/มีความตั้งใจในการทำงาน 25.00% 24.75% 24.88%
อันดับที่ 3 เข้าใจปัญหาของ กทม.อย่างแท้จริง/แก้ปัญหาได้ถูกจุด 18.75% 29.70% 24.23%
อันดับที่ 4 แก้ปัญหาจราจรใน กทม.ได้สำเร็จ 20.83% 17.82% 19.32%
อันดับที่ 5 เป็นคนดี ซื่อสัตย์/มีความสามารถ 6.26% 5.95% 6.10%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-