หลังจากผลการเลือกตั้งผู้ว่า กทม. ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้สมัครของพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับคะแนนเสียงมากที่สุดเป็นไปตามกระแสนิยม "สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าฯกทม.ในเขตกรุงเทพฯ จำนวนทั้งสิ้น 1,193 คน (ชาย 429 คน 35.968% หญิง 764 คน 64.04%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม - 1 กันยายน 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไปใช้สิทธิ์" เลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพื่อรักษาสิทธิ์ของตนเอง/ไปใช้สิทธิ์ 54.02% 54.02% 54.02%
อันดับที่ 2 เป็นหน้าที่ของพลเมืองที่ดี 22.70% 21.15% 21.74%
อันดับที่ 3 อยากได้คนดีเป็นผู้ว่าฯกทม. 6.61% 10.49% 9.02%
อันดับที่ 4 เพื่อไปเลือกคนที่ตนเองชอบ/อยากได้ผู้ว่าฯ กทม. ที่ถูกใจ 6.90% 5.94% 6.30%
อันดับที่ 5 อยากมีส่วนร่วมในการเมือง 5.46% 3.32% 4.13%
ฯลฯ
2. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไม่ไปใช้สิทธิ์" เลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดธุระไม่สามารถไปใช้สิทธิ์ได้ 33.33% 37.21% 36.54%
อันดับที่ 2 ไปต่างจังหวัดกลับมาไม่ทัน 33.33% 30.23% 30.77%
อันดับที่ 3 ป่วย / ไม่สบาย 11.11% 25.58% 23.08%
อันดับที่ 4 ไม่อยากไปเลือกเพราะไม่มีคนที่ถูกใจ 11.11% 2.35% 3.85%
อันดับที่ 5 อายุมากแล้วไปไม่ไหว 11.11% - 1.92%
ฯลฯ
3. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" อภิรักษ์ โกษะโยธิน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ชอบนโยบาย/นโยบายชัดเจนดี เชื่อถือได้/วิสัยทัศน์ดี 18.52% 14.62% 15.94%
อันดับที่ 2 เป็นคนรุ่นใหม่ไฟแรง/น่าจะทำงานได้ตรงตามที่ต้องการ 13.43% 16.04% 15.16%
อันดับที่ 3 ชอบพรรคประชาธิปัตย์อยู่แล้ว 12.96% 9.43% 10.63%
อันดับที่ 4 ดูเหมาะสมกว่าคนอื่น/บุคลิกดี/ภาพลักษณ์ดี 11.57% 9.43% 10.16%
อันดับที่ 5 ชื่นชอบเป็นการส่วนตัว 5.09% 10.61% 8.75%
ฯลฯ
4. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไม่เลือก" อภิรักษ์ โกษะโยธิน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากให้ผู้หญิงมีโอกาสเป็นผู้ว่าฯกทม. ดูบ้าง 17.31% 17.45% 17.41%
อันดับที่ 2 ยังไม่เคยเห็นผลงานมากนัก 19.23% 13.42% 14.93%
อันดับที่ 3 ไม่ชอบพรรคประชาธิปัตย์ 23.08% 10.74% 13.93%
อันดับที่ 3 ไม่ชอบ/มีคนที่ต้องการเลือกอยู่แล้ว 5.77% 16.78% 13.93%
อันดับที่ 5 ยังไม่ค่อยรู้จักมากนัก 9.62% 14.09% 12.94%
ฯลฯ
5. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" ปวีณา หงสกุล คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากลองให้โอกาสผู้หญิงเป็นผู้ว่าฯ กทม.ดูบ้าง 25.00% 36.90% 33.46%
อันดับที่ 2 มีผลงานให้เห็นเป็นรูปธรรม 25.00% 21.93% 22.81%
อันดับที่ 3 ชอบเป็นการส่วนตัว 5.26% 13.37% 11.03%
อันดับที่ 4 ดูเป็นคนตั้งใจทำงานจึงคิดว่าน่าจะทำงานได้ดี 10.53% 6.95% 7.98%
อันดับที่ 5 มีรัฐบาลสนับสนุนอยู่/น่าจะทำงานร่วมกับรัฐบาลได้ 9.21% 3.21% 4.94%
ฯลฯ
6. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไม่เลือก" ปวีณา หงสกุล คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าศักยภาพไม่เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่นี้/
ตำแหน่งนี้เหมาะกับผู้ชายมากกว่า 31.29% 33.01% 32.46%
อันดับที่ 2 ไม่ชอบ/มีคนที่ต้องการเลือกอยู่แล้ว 11.56% 17.31% 15.47%
อันดับที่ 3 มีพรรคฝ่ายรัฐบาลหนุนอยู่จึงไม่ชอบ 16.33% 13.78% 14.60%
อันดับที่ 3 เหมาะสมกับงานที่ช่วยเหลือสังคมมากกว่า 15.65% 14.10% 14.60%
อันดับที่ 5 อยากให้โอกาสคนรุ่นใหม่ๆ/คนหน้าใหม่ๆดูบ้าง 4.76% 4.17% 4.36%
ฯลฯ
7. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นคนจริง กล้าพูด /ดูมีความแปลกใหม่ 36.92% 42.59% 39.50%
อันดับที่ 2 เป็นคนพูดตรงๆไม่เสแสร้ง 12.31% 12.96% 12.61%
อันดับที่ 3 ดูเป็นคนตั้งใจทำงานจึงคิดว่าน่าจะทำงานได้ดี 15.38% 3.70% 10.08%
อันดับที่ 4 ชอบเป็นการส่วนตัว 12.31% 3.70% 8.40%
อันดับที่ 5 อยากลองให้โอกาสเข้ามาทำงานด้านนี้ดูบ้าง 7.69% 7.41% 7.56%
ฯลฯ
8. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ชอบนโยบาย/นโยบายที่กล่าวไว้น่าจะทำได้ 22.73% 15.38% 20.00%
อันดับที่ 2 ดูมีความแปลกใหม่/เป็นคนที่กล้าพูด 18.18% 7.69% 14.29%
อันดับที่ 2 เป็นคนฝั่งธนบุรีก็น่าจะพัฒนาฝั่งธนบุรีให้ดีขึ้นได้ 13.64% 15.38% 14.29%
อันดับที่ 2 เป็นคนที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารมาก่อน 13.64% 15.38% 14.29%
อันดับที่ 5 ชอบเป็นการส่วนตัว 9.09% 15.38% 11.43%
ฯลฯ
4. ความพอใจของคน กทม. กับ ผลการเลือกตั้งที่ อภิรักษ์ ได้เป็นผู้ว่าฯ กทม. หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอใจ 76.69% 83.12% 80.80%
เพราะ ได้คนที่เราเลือก ที่เราชอบ,เป็นคนดีและตั้งใจทำงาน,เป็นคนเก่งมีความสามารถ,เหมาะสมกับงานพัฒนากทม.ซึ่งเป็นงานที่หนัก,ชอบพรรคประชาธิปัตย์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เฉยๆ 18.88% 12.70% 14.92%
เพราะ ใครเป็นก็ได้ ที่สามารถทำงานให้คนกทม.ได้,สามารถพัฒนาและแก้ไขปัญหากทม.ได้,ยังไม่มีผลงาน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่พอใจ 3.73% 3.53% 3.60%
เพราะ อยากได้คนที่มีประสบการณ์มาทำงาน,สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ฯลฯ
* ไม่ระบุ 0.70% 0.65% 0.67%
5. การเลือกตั้งผู้ว่า กทม. ที่ได้คนของพรรคประชาธิปไตยครั้งนี้ จะส่งผลต่อความนิยมในการเลือกตั้ง ส.ส.ของพรรคประชาธิปัตย์ในต้นปีหน้าหรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 32.17% 38.22% 36.04%
เพราะ ต้องดูผลงานและนโยบายของผู้สมัครก่อน,ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล,ต้องพิจารณาหลายๆองค์ประกอบ ในการตัดสินใจเลือก,ขึ้นอยู่กับผลงานของคุณอภิรักษ์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ส่งผลต่อการเลือก ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 36.83% 32.07% 33.78%
เพราะ เลือกที่ตัวบุคคลมากกว่าไม่ใช่เลือกที่พรรคการเมือง,เป็นการเมืองคนละระดับ,พิจารณาจากผลงานและนโยบายของผู้สมัครมากกว่า,ฐานคะแนนเสียงของพรรคไทยรักไทยในส่วนต่างจังหวัดดีกว่า,มีคนชอบพรรคไทยรักไทยจำนวนมาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ส่งผลให้เลือก ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 29.84% 28.27% 28.83%
เพราะ เป็นการถ่วงดุลอำนาจของพรรคไทยรักไทย,เป็นแรงผลักดันให้พรรคประชาธิปัตย์ได้มีกำลังใจในการทำงานมากขึ้น,ฐานเสียงของพรรคประชาธิปัตย์จะเพิ่มมากขึ้นถ้าคุณอภิรักษ์ทำงานดี,แสดงให้เห็นว่าคนกทม.ยังเชื่อมั่นและนิยมพรรคประชาธิปัตย์อยู่ ,คนกทม.เริ่มเบื่อพรรคไทยรักไทย ฯลฯ
* ไม่ระบุ 1.17% 1.44% 1.34%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
1. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไปใช้สิทธิ์" เลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพื่อรักษาสิทธิ์ของตนเอง/ไปใช้สิทธิ์ 54.02% 54.02% 54.02%
อันดับที่ 2 เป็นหน้าที่ของพลเมืองที่ดี 22.70% 21.15% 21.74%
อันดับที่ 3 อยากได้คนดีเป็นผู้ว่าฯกทม. 6.61% 10.49% 9.02%
อันดับที่ 4 เพื่อไปเลือกคนที่ตนเองชอบ/อยากได้ผู้ว่าฯ กทม. ที่ถูกใจ 6.90% 5.94% 6.30%
อันดับที่ 5 อยากมีส่วนร่วมในการเมือง 5.46% 3.32% 4.13%
ฯลฯ
2. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไม่ไปใช้สิทธิ์" เลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ติดธุระไม่สามารถไปใช้สิทธิ์ได้ 33.33% 37.21% 36.54%
อันดับที่ 2 ไปต่างจังหวัดกลับมาไม่ทัน 33.33% 30.23% 30.77%
อันดับที่ 3 ป่วย / ไม่สบาย 11.11% 25.58% 23.08%
อันดับที่ 4 ไม่อยากไปเลือกเพราะไม่มีคนที่ถูกใจ 11.11% 2.35% 3.85%
อันดับที่ 5 อายุมากแล้วไปไม่ไหว 11.11% - 1.92%
ฯลฯ
3. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" อภิรักษ์ โกษะโยธิน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ชอบนโยบาย/นโยบายชัดเจนดี เชื่อถือได้/วิสัยทัศน์ดี 18.52% 14.62% 15.94%
อันดับที่ 2 เป็นคนรุ่นใหม่ไฟแรง/น่าจะทำงานได้ตรงตามที่ต้องการ 13.43% 16.04% 15.16%
อันดับที่ 3 ชอบพรรคประชาธิปัตย์อยู่แล้ว 12.96% 9.43% 10.63%
อันดับที่ 4 ดูเหมาะสมกว่าคนอื่น/บุคลิกดี/ภาพลักษณ์ดี 11.57% 9.43% 10.16%
อันดับที่ 5 ชื่นชอบเป็นการส่วนตัว 5.09% 10.61% 8.75%
ฯลฯ
4. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไม่เลือก" อภิรักษ์ โกษะโยธิน คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากให้ผู้หญิงมีโอกาสเป็นผู้ว่าฯกทม. ดูบ้าง 17.31% 17.45% 17.41%
อันดับที่ 2 ยังไม่เคยเห็นผลงานมากนัก 19.23% 13.42% 14.93%
อันดับที่ 3 ไม่ชอบพรรคประชาธิปัตย์ 23.08% 10.74% 13.93%
อันดับที่ 3 ไม่ชอบ/มีคนที่ต้องการเลือกอยู่แล้ว 5.77% 16.78% 13.93%
อันดับที่ 5 ยังไม่ค่อยรู้จักมากนัก 9.62% 14.09% 12.94%
ฯลฯ
5. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" ปวีณา หงสกุล คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากลองให้โอกาสผู้หญิงเป็นผู้ว่าฯ กทม.ดูบ้าง 25.00% 36.90% 33.46%
อันดับที่ 2 มีผลงานให้เห็นเป็นรูปธรรม 25.00% 21.93% 22.81%
อันดับที่ 3 ชอบเป็นการส่วนตัว 5.26% 13.37% 11.03%
อันดับที่ 4 ดูเป็นคนตั้งใจทำงานจึงคิดว่าน่าจะทำงานได้ดี 10.53% 6.95% 7.98%
อันดับที่ 5 มีรัฐบาลสนับสนุนอยู่/น่าจะทำงานร่วมกับรัฐบาลได้ 9.21% 3.21% 4.94%
ฯลฯ
6. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "ไม่เลือก" ปวีณา หงสกุล คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 คิดว่าศักยภาพไม่เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่นี้/
ตำแหน่งนี้เหมาะกับผู้ชายมากกว่า 31.29% 33.01% 32.46%
อันดับที่ 2 ไม่ชอบ/มีคนที่ต้องการเลือกอยู่แล้ว 11.56% 17.31% 15.47%
อันดับที่ 3 มีพรรคฝ่ายรัฐบาลหนุนอยู่จึงไม่ชอบ 16.33% 13.78% 14.60%
อันดับที่ 3 เหมาะสมกับงานที่ช่วยเหลือสังคมมากกว่า 15.65% 14.10% 14.60%
อันดับที่ 5 อยากให้โอกาสคนรุ่นใหม่ๆ/คนหน้าใหม่ๆดูบ้าง 4.76% 4.17% 4.36%
ฯลฯ
7. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นคนจริง กล้าพูด /ดูมีความแปลกใหม่ 36.92% 42.59% 39.50%
อันดับที่ 2 เป็นคนพูดตรงๆไม่เสแสร้ง 12.31% 12.96% 12.61%
อันดับที่ 3 ดูเป็นคนตั้งใจทำงานจึงคิดว่าน่าจะทำงานได้ดี 15.38% 3.70% 10.08%
อันดับที่ 4 ชอบเป็นการส่วนตัว 12.31% 3.70% 8.40%
อันดับที่ 5 อยากลองให้โอกาสเข้ามาทำงานด้านนี้ดูบ้าง 7.69% 7.41% 7.56%
ฯลฯ
8. เหตุผลของ "คนกรุงเทพฯ" ที่ "เลือก" ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ชอบนโยบาย/นโยบายที่กล่าวไว้น่าจะทำได้ 22.73% 15.38% 20.00%
อันดับที่ 2 ดูมีความแปลกใหม่/เป็นคนที่กล้าพูด 18.18% 7.69% 14.29%
อันดับที่ 2 เป็นคนฝั่งธนบุรีก็น่าจะพัฒนาฝั่งธนบุรีให้ดีขึ้นได้ 13.64% 15.38% 14.29%
อันดับที่ 2 เป็นคนที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารมาก่อน 13.64% 15.38% 14.29%
อันดับที่ 5 ชอบเป็นการส่วนตัว 9.09% 15.38% 11.43%
ฯลฯ
4. ความพอใจของคน กทม. กับ ผลการเลือกตั้งที่ อภิรักษ์ ได้เป็นผู้ว่าฯ กทม. หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอใจ 76.69% 83.12% 80.80%
เพราะ ได้คนที่เราเลือก ที่เราชอบ,เป็นคนดีและตั้งใจทำงาน,เป็นคนเก่งมีความสามารถ,เหมาะสมกับงานพัฒนากทม.ซึ่งเป็นงานที่หนัก,ชอบพรรคประชาธิปัตย์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เฉยๆ 18.88% 12.70% 14.92%
เพราะ ใครเป็นก็ได้ ที่สามารถทำงานให้คนกทม.ได้,สามารถพัฒนาและแก้ไขปัญหากทม.ได้,ยังไม่มีผลงาน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่พอใจ 3.73% 3.53% 3.60%
เพราะ อยากได้คนที่มีประสบการณ์มาทำงาน,สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ฯลฯ
* ไม่ระบุ 0.70% 0.65% 0.67%
5. การเลือกตั้งผู้ว่า กทม. ที่ได้คนของพรรคประชาธิปไตยครั้งนี้ จะส่งผลต่อความนิยมในการเลือกตั้ง ส.ส.ของพรรคประชาธิปัตย์ในต้นปีหน้าหรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่แน่ใจ 32.17% 38.22% 36.04%
เพราะ ต้องดูผลงานและนโยบายของผู้สมัครก่อน,ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล,ต้องพิจารณาหลายๆองค์ประกอบ ในการตัดสินใจเลือก,ขึ้นอยู่กับผลงานของคุณอภิรักษ์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ส่งผลต่อการเลือก ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 36.83% 32.07% 33.78%
เพราะ เลือกที่ตัวบุคคลมากกว่าไม่ใช่เลือกที่พรรคการเมือง,เป็นการเมืองคนละระดับ,พิจารณาจากผลงานและนโยบายของผู้สมัครมากกว่า,ฐานคะแนนเสียงของพรรคไทยรักไทยในส่วนต่างจังหวัดดีกว่า,มีคนชอบพรรคไทยรักไทยจำนวนมาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ส่งผลให้เลือก ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 29.84% 28.27% 28.83%
เพราะ เป็นการถ่วงดุลอำนาจของพรรคไทยรักไทย,เป็นแรงผลักดันให้พรรคประชาธิปัตย์ได้มีกำลังใจในการทำงานมากขึ้น,ฐานเสียงของพรรคประชาธิปัตย์จะเพิ่มมากขึ้นถ้าคุณอภิรักษ์ทำงานดี,แสดงให้เห็นว่าคนกทม.ยังเชื่อมั่นและนิยมพรรคประชาธิปัตย์อยู่ ,คนกทม.เริ่มเบื่อพรรคไทยรักไทย ฯลฯ
* ไม่ระบุ 1.17% 1.44% 1.34%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-